อุบัติอุบัติจากพระไตรปิฎก อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หน้า 100
หน้าที่ 100 / 370

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาที่กล่าวถึงกลิ่นหอมในพระไตรปิฎกซึ่งแบ่งประเภทของกลิ่นจากดอกไม้และบุคคลที่มีศีล ทั้งยังกล่าวถึงความเชื่อมโยงระหว่างศีลและปัญญา ว่าผู้ที่มีศีลก็ย่อมมีปัญญา ข้อความดังกล่าวส่งเสริมให้เห็นถึงคุณค่าของการมีศีลเข้ามาเกี่ยวข้องในชีวิตของบุคคล เพื่อสร้างโลกที่ดีกว่า นอกจากนี้ยังได้บอกถึงโทษของการไม่มีศีลซึ่งส่งผลให้จิตใจไม่สงบและเกิดความเดือดร้อน

หัวข้อประเด็น

-กลิ่นหอมในพระไตรปิฎก
-ความสำคัญของศีล
-ความเชื่อมโยงระหว่างศีลและปัญญา
-โทษของการทุติศ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๙๔ อุบัติอุบัติจากพระไตรปิฎก ๓.๓ กลิ่นดอกไม้ฟังไปวงลมไม่ได้ กลิ่นจันทน์หรือลินกลิ่นยา และกลั้มพักพิงไม่ได้ แค่กลิ่นของสัตบุรุ้งฟังไปวงลมไม่ได้ กลิ่นจันทน์ก็ดี กลิ่นชูชาก็ดี กลิ่นอบุลิกก็ดี กลิ่นมะลิก็ดี กลิ่นคีเป็นเยี่ยมกว่าคันชาดนั่น ขุ.ร. (พูทธ) มก. ๑๔/๓ ๓.๔ กลิ่นกลั้มพัก และกลิ่นจันทน์เป็นกลิ่นเพียงเล็กน้อย ส่วนกลิ่นของผู้มีศีลทั้งหลายเป็นกลิ่นสูง ย่อมชมฟุ้งไปเป็นเทพเจ้าและเหล่ามนุษย์ ขุ.ร. (พูทธ) มก. ๑/๒๘๒ ๓.๕ ป่าใหญ่ มืดดั่งไม้บ้าน อบอวลด้วยกลิ่นหอมณา ฉันใด ปาปัณ (ธรรมและวัน) ของพระโลสิตพุทธเจ้า ก็อบอวลด้วยกลิ่น คือ ศิลา ฉันนั้น ขุ.ร. (พูทธ) มก. ๒๗๓/๓๗๙ ๓.๒ การที่พระธะนาสุพ้งตลไปถึง ๑๐ ทิด ด้วยกลิ่นหอมทั้งหลายมีลิ้นศิล เป็นต้น ท่องเที่ยวจาไปตามใจปรารถนา เปรียบเหมือนการที่คนมีศีลตัวทอง นุ่งผ้าทอด้วยกลิ่นหอมแล้วท่องเที่ยวไปตามถนนในวันมีมุราคผล สง.ข. (อรรถ) มก. ๒๗/๒๘๙ ๓.๗ ศิลในบุคคลใด ปัญญาก็มิในบุคคลนั้น ปัญญามิในบุคคลใด ศิลก็ในบุคคลนั้น ปัญญาเป็นของบุคคลผู้ศิลา ศิลเป็นของบุคคลผู้ปัญญา และนักปราชญ์ย่อมกล่าวลคล้ายกับปัญญาว่าเป็นยอดในโลก เหมือนบุคคลลังมีสมิดด้วยมือ หรือหลังเท้า ด้วยเท้า นะฉัน ทิส. (พูทธ) มก. ๑๒/๑๔ ๕. โทษของการทุติศ ๔.๑ กิฏิได้มีศีลขาด กรรมฐานของกิจนี้น้อยไม่เสมอ ต่อ จิตย่อมปันป่วน คือ ถูกไฟ คือ ความเดือดร้อนแผดเผาอยู่ ดูถูกทีมแท่งด้วยปุจฉา ฉะนั้น กิฏิฐาน ย่อมลูกขึ้นในขณะนั้นเองเดียว เหมือนนั่งอยู่ก้อนหินที่ร้อน ฉะนั้น วิ.มหา. (อรรถ) มก. ๑/๒๗๓ ๔.๒ ไปไม่เหลืองเป็นของมื้อนไม่งอทาง โดยความเป็นของเขียวสดดก ฉันใด แม้บุคคลผู้พ่ายทั่งหลาย ก็ฉันนั้น ย่อมเป็นผู้ไม่งอทางโดยความเป็นผู้มีศีลตามปกติ วิ.ป. (อรรถ) มก. ๑/๒๖๓
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More