การฝึกสมาธิและการทำจิตให้เป็นกลาง อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หน้า 349
หน้าที่ 349 / 370

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาแนะนำเกี่ยวกับการฝึกสมาธิให้เป็นประจำ เชื่อมโยงกับความสุขและความสำเร็จในชีวิต โดยมีข้อแนะนำให้ทำด้วยความสบาย ไม่บีบหรือใช้กำลังใดๆ ซึ่งจะช่วยให้จิตอยู่ในศูนย์กลางและไม่รู้สึกอยากจนเกินไป นักปฏิบัติควรระวังไม่ให้เกิดความกังวลเกี่ยวกับการกำหนดลมหายใจ และให้มองเห็นความจริงภายในตัวตน การบำเพ็ญสมาธิเพื่อสร้างความเข้าใจในธรรมชาติของจิตและการดำรงอยู่ในสภาวะที่สงบเรียบร้อย บทเรียนนี้เน้นการเจริญวิปัสสนาเพื่อเรียนรู้สิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิต

หัวข้อประเด็น

-การฝึกสมาธิ
-การทำจิตให้เป็นกลาง
-การบรรลุธรรม
-ความสุขในชีวิต
-ความสำเร็จที่ยั่งยืน
-ข้อควรระวังในการฝึกสมาธิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ข้อแนะนำ คือ ต้องทำให้เสมอเป็นประจำ ทำเรื่อยๆ ทำอย่างสบายๆ ไม่เร่ง ไม่บังคับ ทำได้แค่ไหน ให้พอใจแค่นั้น ซึ่งจะเป็นการป้องกันมิให้เกิดความอยากจนเกินไป จนถึงกับทำให้จิตอ่อนล้าสูญเสียความเป็นกลาง และเมื่อการฝึกสมาธิบังเกิดผลได้ “ดวงปฐมมรรค” ที่ใสเกินใส สวยเกินสวย ติดสนิมมันคงอยู่ที่ศูนย์กลางกายแล้ว ให้มันรีรันก็ลิกนิ่งก็อยู่เสมอ อย่างนี้แล้ว ผลแห่งสมาธิจะทำให้ชีวิตดำรงอยู่บนเส้นทางแห่งความสุข ความสำเร็จ และความไม่ประมาทได้ดลอดไป ทั้งยังจะทำให้สมาธิเกิ้ลไปตามลำดับอีกด้วย ข้อควรระวัง 1. อย่าใช้กำลัง คือไม่ใช่กำลังใดๆ ทั้งสิ้น เช่น ไม่บีบกล้ามเนื้อตา เพื่อจะให้เห็นมิติเร็วๆ ไม่เกรงแขน ไม่เกรงกล้ามเนื้อหน้าท้อง ไม่เกรงตัว ฯลฯ เพราะการใช้กำลังตรงส่วนไหนของร่างกายก็ตาม จะทำให้จิต เคลื่อนจากศูนย์กลางกายไปสู่จุดนั้น 2. อยากเห็น คือทำใจให้เป็นกลาง ประคองสมาธิให้ผลออก จากบริกรรมภาวนา และบริกรรมมณีต ส่วนจะเห็นมิติเมื่อไห่นั้น อยากกังวล ถ้าถึงเวลาแล้วอ่อนเอง การบังเกิดของดวงมินิตับบูมบาเสมอการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ ไม่อาจจะเร่งเวลาได้ 3. อย่ากังวลถึงการกำหนดลมหายใจเข้าออก เพราะการฝึกสมาธิเสริมภาวนาเพื่อให้เข้าสู่ธรรมภายอาศัยการกำหนด อากาสกลิ่น คือ กลิ่นความว่างเป็นบาเบื้องต้น เมื่อฝึกสมาธิขึ้นถึงดวงปฐมมรรคแล้วฝึกสมาธิต่อไป ผ่านกายมนุษย์ละเอียด ภายพิพย์ ภายรูปพรหม ภายอรูปพรหม จนกระทั่งเข้าสู่ธรรมภายใน แล้ว จึงอาศัยพระธรรมภายในเจริญวิปัสสนา ดังนั้นจึงไม่มีความจำเป็นต้องกำหนดลมหายใจเข้าออกแต่ประการใด www.kalyanamitra.org
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More