อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หน้า 135
หน้าที่ 135 / 370

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนออุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎกที่สะท้อนถึงการทำบุญและการขอพร รวมถึงการตระหนี่และผลที่ตามมา โดยผ่านการเปรียบเทียบกับสถานการณ์ต่างๆ เพื่อสอนใจเกี่ยวกับการใช้ชีวิตและจิตใจที่มีคุณธรรม เช่น การบริโภคผลจากการทำบุญและการให้สิ่งดีแก่ผู้อื่น รวมถึงบทบาทของการเข้าใจในชีวิตและความสัมพันธ์กับผู้อื่น เพื่อที่จะมีชีวิตที่ดีขึ้นและเข้าสู่สวรรค์ในเบื้องหน้า.

หัวข้อประเด็น

-อุปมาอุปไมย
-การทำบุญ
-ผลทางจิตใจ
-ความตระหนี่
-การขอพร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๕๓ อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หว่านพืชนั้น ย่อมเกิดผลแก่เปรตทั้งหลายและทายก เปรตทั้งหลายย่อมบริโภคผลนั้น ทายย่อมเจริญด้วยบุญ ทายาททำคุณในโลกลนี้แล้วอุทิศให้เปรตทั้งหลาย ครั้นทำกรรมดีแล้ว ย่อมไปสรรค์. ขุ.เปต.(พูธ) มก. ๔๙/๑ ๕๔ ๙. ผู้ขอ ๙.๑ ท่านขอแก้วมณีอันเกิดจากหินดวงนี้ ย่อมทำให้เจ้าหวาดเสียยาเหมือนกับชายหนุ่มมีมือถือดาบอันลับแลที่แท่นหินมาทำให้เจ้าหวาดเสียยา ฉะนั้น ขุ.ชาด. (ทั่วไป) มก. ๕/๒๒ ๙.๒ คนเมื่อขออันว่า ท่านจงให้ของชื่อนี้ ชื่อว่า ย่อมร้องให้ ฝ่ายคนอื่นผู้กล่าวว่าจะไม่มีชื่อว่า ย่อมร้องให้ตอบ ก็หาว่าอาได้เห็นเราร้องให้ อย่าได้เห็นพระราชร้องให้ตอบเลย. ขุ.ชาด. (อรรถ) มก. ๕/๕๕๐ ๙.๓ ดู่อน้องหญิง เปรียบเหมือนบูรให้รบให้สังแล้ว ก็ครวาละสังคับลำสำหรับช่างด้วยฉันใด เธอก็นั้นเหมือนกันแล ถวายเนื้อแดพระผู้พระภาคเจ้าแล้ว ก็จงละผ้าผันตราสถวดลวกแต่องเทมา. วิญฺมท. (ทั่วไป) มก. ๓/๙๘๕ ๑๐. ความตระหนี่ ๑๐.๑ น้ำมืออยู่ในลิ้นของมนุษย์ ก็ไม่ได้ใช้อย่างเห็นแก่ตนไป ฉันใด คนชั่วได้ทรัพย์แล้วตนเองไม่ได้ใช้ และไม่ให้คนอื่นใช้ ก็เสียไปเปล่า ฉันนั้น ส่วนวิญญูชนผู้มีบุญญาได้โคตรแล้ว เขา ย่อมบริโภค และทำกิจ เขาเป็นคนอาจหาญ เลี่ยงดูหมู่อยู่ ไม่ถูกตีเตียน ย่อมเข้าสู่สวรรค์. สัง.ส. (พูธ) มก. ๒๕/๙๙๙
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More