อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หน้า 113
หน้าที่ 113 / 370

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับอุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก สื่อถึงความสำคัญของบุตรและการจัดการกับความสำเร็จและความล้มเหลวของบุตรในสังคม บุตรที่ไม่ฟังและความหมายว่าควรเป็นอย่างไร นอกจากนี้ยังพูดถึงพระราชาที่ชนะและความสัมพันธ์ของคนในครอบครัวเช่นพ่อแม่และบุตร การดูแลและการเลี้ยงดูลูกในความเป็นจริง ทั้งนี้สามารถศึกษาเพิ่มเติมที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-อุปมาอุปไมย
-พระไตรปิฎก
-ความรับผิดชอบของบุตร
-การเลี้ยงดูในครอบครัว
-ความสัมพันธ์ในสังคม
-บทเรียนทางจริยธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๒๒ อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก ๓.๑ ลูกอ๊อตูญู ๓.๑ เรานับชม และปรารถนาความเจริญแก่บุตรเหล่าใด บุตรเหล่านั้นคืบคิดกันกับรยาย รมว่าเรา ดังสูญรุมเหล่ากุร เขาว่าดพมันเป็นอสัตบุตร ร้องเรียกว่า พ่อๆ พวกมันประดูยักษ์ แปลงเป็นบุตร ละทั้งเราดดลวมเข้าเป็นบรม จนถึงเราดลวมเข้าเป็นบรม จนถึง สัง.ส. (พุทธ) มค. ๒๕/๒๕ ๓.๒ ข้าพเจ้าprodิดเพลินด้วยบทที่เกิดแล้ว และปรารถนาความเจริญแก่บุตรเหล่าใด บุตรเหล่านั้นถูกครูรายยุง ยอมธรานข้าพเจ้าเหมือนสมบูรณ์รานสุก รส ชะนั้น ขุ.ธ. (ทั่วไป) มค. ๓/๒๓ ๓.๓ บุตรเหล่านั้นเป็นอสัตบุตร เลวทราม เรียกข้าพเจ้าว่า พ่อๆ พวกเขาคือ รากษสแปลกมาในรูปบุตร ย่ามทอดทั้งข้าพเจ้าอยู่ในความเสื่อมชราต้องเที่ยวยอทนที่เรือนของชนเหล่าอื่นเหมือนม้าแก้การงานไม่ได้ ถูกเขาพรากไปจากอาหาร ฉะนั้น ขุ.ธ. (ทั่วไป) มค. ๓/๒๓ ๓.๔ ไม่เท่าของข้าพเจ้าจะยังประเสริฐว่า บุตรทั้งหลายไม่เชื่อฟังจะประเสริฐอะไร เพราะไม้เท้ากันโคดูกได้ กันสุขได้ดี มีไว้ข้างหน้าเวลามิดดี ใส่ไว้ลงในที่ลึกก็ได้ เพราะอนาคตะแห่งไม่เท่า คนแก่ข้าพเจ้าพลาดแล้วก็กลัดยันขึ้นอีกได้ ขุ.ธ. (ทั่วไป) มค. ๓/๒๓ ๓.๕ พระราชาใดชนะคนที่ไม่ควรชนะ พระราชานั้นชื่อว่า เป็นพระราชา ผู้ใดเอาชนะเพื่อน ผู้นั้นชื่อว่า เป็นเพื่อน ภรรยาใดไม่กล้ารบกวนสง่ามี ภรรยาโน้นชื่อว่า เป็นภรรยา บุตรเหล่าใดไม่เลี้ยงบุตรดิบดูแกแล้ว บุตรเหล่านั้นไม่ชื่อว่า เป็นบุตร ขุ.ชา. (โพธิ) มค. ๒๑/๒๖ ๓.๖ คนผูสามารถแต่ไม่เลี้ยงมารดา หรือบิดาผู้แก่เก่าแต่ผ่านวัยหุนสาวไปแล้ว พึงรู้ว่าเป็นเฒ่า ขุ.ส. (พุทธ) มค. ๕/๒๘
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More