ข้อความต้นฉบับในหน้า
๒๒๒
อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก
๒.๒ เราจักอดกลั้นคำล่วงเกิน เหมือนช้างอดทนต่อกงกร ที่ตกล่ามในสงคราม ฉนั้น.
ชู.ธ. (พุทธ) มก. ๓๓/๒๒๓
๒.๓ ธรรมดาแผ่นดินย่อมอดกลั้นสิ่งทั้งปวง ที่เขาทั้งลง เลอะด่างบ้าง ไม่ละด่างบ้างไม่ระทำการขัดเคือง เพราะการกระทำนั้น ฉันใด แม้ท่านฉันนั้นเหมือนกัน เป็นผู้อดทนต่อการนับถือ และการดูหมิ่นของคนทั้งปวง ถึงความเป็นบันดิบรมีแล้ว จักบรรลุพระสัมโพธิญาณได้.
ข.อฺ. (โพธิ) มก. ๓๐/๕๔
๒.๔ บุคคลผู้อภิบาลไม่ลานเม้นดับเบินของตนไปอยู่อื่นแล้ว ควรรสร้างนใหญ่ไว้ สำหรับเก็บคำหยามคายหลายหลาย.
ข.ชาด. (โพธิ) มก. ๕๕/๕๐๐
๒.๕ ควรรอดตามด้วยความอดกลั้นของคนพูดช้าเวลาราม ฯลฯ เหมือนคนรสรวมเกราะหนังยืดนุบ รอยอดกลั้นต่อสูทั้งหลายอันมาแล้ว... ลูกครึ่งหลบย่อมแทนบุคคลนั้นไม่ได้ ฉันใด
ภิกษุผู้ประกอบด้วยอิทธิรสนขันธ์ ย่อมอดทนอดทนคำอันมาแล้วได้ ถ้อยคำเหล่านั้น ย่อมแทนกิริยาผู้อภิบาลด้วยอิทธิรสนขันธ์ไม่ได้ ฉันนั้น.
สัง.ม. (อรรถ) มก. ๖๐/๑๙
๒. เราเป็นเช่นกับช้างเข้าสงคราม การอดทนต่ออสูรที่แผ่มาอวลสีทิศ เป็นภาระของช้างที่เข้าสงคราม ฉันใด การอดทนต่ออสูรที่มาทำลาย ก็เป็นภาระของพระองค์ ฉันนั้น.
ข.ธ. (พุทธ) มก. ๓/๒๖
๓. ความอดทนต่ออำนาจกิเลส
๓.๓ ถ้าความโกรธเกิดขึ้น จงลักถึงพระโอวาท อันอุปมาด้วยเสือ ถ้าตื่นในสถิตินั้น จะลักถึงพระโอวาทอันอุปมา ด้วยเนื้อบุตร ถ้าจิตของท่านเล่นไปนามา และพลังหลาย จงรีบชมเสียด้วยสติ เหมือนบุคคลหิสัตว์เลี้ยงโก่งที่ชอบกินข้าวกล่า ฉนั้น.
ข.เณร. (เณร) มก. ๕๒/๒๗๓
๔. ประโยชน์ของความอดทน
๔.๑ คิลปะณู กำลังแข็งแรง และความกล้าหาญอยู่ในชายหนุ่มผู้ใด พระราชาผูทรงการยุทธพิงรงชูเลี้ยงชายหนุ่มผู้นั้น ไม่พึงทรงชูเลี้ยงชายหนุ่มผู้มีกล้าหาญ เพราะเหตุแห่งชาติ ฉันใด