ข้อความต้นฉบับในหน้า
๓๒๑๙
อุบาสุไม่ยอมจากพระใคร่ฌก
๒.๒.๖ จักษรเนเป็นคนโกรธง่าย มากไปด้วยความคับแค้นใจ เที่ยวทำเสียงเอะอะ เหมือนกลิ้งที่เข้าในเตาไฟ
ข. ซา. (อรวา) มก. ๕๐/๑๓
๒.๒.๗ บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นคนโกรธ มีความเค้นมาก ถูกเขาว่าห่อน้อยขัดเคือง ซึ่งเอกด ทำความกำเริบ ความร้าย และความเดือดดาลให้ปรากฎ เหมือนอย่างแผลร้าย ถูกมึงรอกรเบ้องเข้า ก็ยังมีหนองไหล ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นคนโกรธ มีความเค้นมาก ถูกเขาว่าห่อน้อยขัดเคือง ซึ่งเอกด ทำความกำเริบ ความร้าย และความเดือดดาลให้ปรากฎ ฉันนั้น นี่เรียกว่าบุคคลผู้ฉดเหิมแผล
อัง.ติก. (พุทธ) มก. ๑๔/๘๑
๒.๒.๘ บุคคลผู้มิตติเหมือนแผล คือ คนมักโกรธ ถูกเขาว่าห่อน้อยขัดเคือง
อัง.ติก. บุคคลวรรค มก. ๔/๘๑
๒.๓ การกำจัดความโกรธ
๒.๓.๑ บุคคลใดบ่มความโกรธที่เกิดขึ้นแล้วได้ เหมือนกับสาธุระหยุดรังส้ำลังแฉลบอยู่ได้ เราตาคมเรียบบุคคลนั้นว่า เป็นสาระ ชนเทอจากนี้เป็นแต่คนอ๋องเท่านั้น
วิมหา. (พุทธ) มก. ๔/๒๑
๒.๓.๒ ผู้ใดพิสูจน์ยังความโกรธที่บังเกิดขึ้นไว้ได้ ผู้มักดุดบุคคลหยุดเหตุที่ไปอย่างรวดเร็วได้ ฉะนั้น
บุญ. สุ. (พุทธ) มก. ๖/๑๑
๒.๓.๓ จักษรใดกำจัดความโกรธที่เกิดขึ้น เหมือนหมอกำจัดพิษที่แฉะไปแล้วด้วยโอสถหลาย จะนั้น
วิมหา. (พุทธ) มก. ๔/๒๑
๒.๓.๔ น้ำเล็กน้อยมือในสระน้ำที่กุหลาบร่าย และแหวนคลุมไว้ บูรณะผู้นำร้อนอวบอ้วน เหนื่อยอ่อน กระหายน้ำ เขาลงสระน้ำนี้ แหวกสาราย และแหวนด้วยมือทั้งสองแล้วอบน้ำขึ้นดื่มแล้วพึงไป แม้นฉันใด บุคคลใดเป็นผู้มีความประพฤติทางจาวาไม่ริสุทธิ์ แต่เป็นผู้มีความประพฤติทางกายบริสุทธิ์ ความประพฤติทางจาวาไม่ริสุทธิ์ส่วนใดของเขา ก็อาจไม่พึงโล่งใจส่วนนั้นใน ส่วนความประพฤติทางกายบริสุทธิ์ส่วนใดของเขา กิริยพึงโล่งใจในส่วนนี้ ฉันนั้น บุคคลพึงระงับความอาฆาตในบุคคลนั้นอย่างนั้น
อัง.ปัญจคล. (พุทธ) มก. ๖/๘๕