ข้อความต้นฉบับในหน้า
22 ๕๔
อุปําปปมิยมจากพระไตรปิฎก
๓.๕ กุลบุตรผู้ต้องการศึกษาบำเพ็ญเพียร ถึงความสำรวมในวาจาทั้งสองเหล่านี้ (โสตทวารและากายวาร) จำทำที่สุดแห่งชาติ สรณะ มะนะได้ดิบพลมีเดียว เปรียบเหมือนรุ่งแจ้งของเทือจอจายเดินสำรวจนา ไม่เสร็จถ้องดินในที่หนึ่ง เอาจอบฟันดินเฉพาะในที่บกพร่อง เพิ่มดินในที่มักเผช
ม.มว. (อรรถ) มก. ๑๘/๕๐
๓.๖ ภิกษุทั้งหลายในที่ประชุม ชั้นจิตมันแล้ว ได้ชิจาของตนให้ตรงแล้ว ภิกษ์ทั้งปวงนั้นเป็นบันติ ย่อมรักษาอินทรีย์ทั้งหลาย ดูดังว่านายสารธ้อบังเหียน ฉะนั้น
สง.ส. (ทั่วไป) มก. ๒๔/๒๐๑
๓.๗ บุคคลผู้นั่งกล่าว เมื่อไม่ไม้ ย่อมต่อกลิ้มด้วยลิ้ม ฉันใด ภิกษุปัจจาความเพียรด้วยอินทรีย์ ฉันนั้น
ขุ.เถร. (เณร) มก. ๕/๒๐
๓.๘ ธรรมดาอย่อตะเบงสงสัยเสมอ ย่อมขวนขวายอยู่เสมอ ฉันใด ภิกษ์ผู้วรารความเพียรฉันนั้น ย่อมมีความระมัดระวังอยู่เสมอ สำรวมอินทรีย์อยู่เสมอ
มิสี. ๑๘๘
๓.๙ ธรรมดา ო่งมะเตงสิก็เหมือนตาบอดในเวลาจากคืน ฉันใด ภิกษุปรารถนาความเพียรถึงตาไม่เบอดให้ควรทำเป็นเหมือนคนตาบอด ฉันนั้น ทั้งในเวลอาบหรือเที่ยวออกนอกบ้าน ภิกษุผูปรารถนาความเพียรควรเป็นเหมือนคนตาบอด คนหูหนวก คนใบ้ ต่อรูป เสียง กลิ่น รส โภคผะพะ...
มิสี. ๑๘๔
๓.๑๐ ธรรมดานางนกเฝืออย่ามิให้ขออยู่เสี่ยงลูกในโพรงด้วยความหวัง ฉันใด ภิกษุปรารถนาความเพียรเมื่อเกิดสละขึ้นในใจตน ก็ควรเอาใจของตนใส่ลงในโพรง คือ การสำรวมโดยชอบเพื่อกันกิเลส แล้วอรามายตามสติไว้ลงในทวาร
มิสี. ๑๙๑
๓.๑๑ ธรรมดาเต่ามีเที่ยวไป ถ้าได้เห็นสิ่งหนึ่งสิ่งใด หรือได้ยินเสียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็หนีบหนีหัวเข้าอุ่นในกระดองอยู่ เพื่อรักษาตัวเอง ฉันใด ภิกษุปรารถนาความเพียรฉันนั้น คือ เมื่ออารมณ์อุ่นร้อนใคร่ร้อนออกมาปรากฏ ภิกษุปรารถนาความเพียรปิดประตูระวัง สำรวมใจไว้ข้างใน มีสติสมัปชัญญะ รักษาสมาธิธรรมฌาม
ข้ออัตินิสมันคำของพระสัมมาสัมพูติว่าว่า เต่่อย่อมช่อนอวัยวะทั้ง ๕ ไว้ในกระดองของตน ฉันใด พระภิฏฐุควรตั้งจิตไว้ให้ดี มิฉะนั้นอายคืออะไร ไมต้องเบียบของผู้อื่น ไม่ติเตียนใคร ฉันนั้น
มิสี. ๑๙๗