การบริหารราชการในสังคมตามหลักธรรม อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หน้า 160
หน้าที่ 160 / 370

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความสำคัญของการบริหารราชการที่ดี โดยอิงหลักธรรม เพื่อสร้างความยุติธรรมในสังคมและหลีกเลี่ยงการประพฤติไม่เป็นธรรมของผู้ปกครอง หากผู้ปกครองไม่ดำเนินการตามทางสายธรรม รัฐก็จะมีแต่ความเสื่อมเสีย เหมือนต้นไม้ที่ไม่อาจเติบโตได้หากไม่มีการดูแลอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ยังเตือนถึงอันตรายจากการเสพติดความสุขชั่วคราวซึ่งมีแต่ผลร้ายตามมา คล้ายดั่งน้ำหวานที่ผสมยาพิษ ที่อาจทำให้เกิดความทุกข์และความสูญเสียในชีวิตได้ จึงแนะนำให้ประชาชนยึดถือและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่อสังคมที่สงบสุขมากขึ้น.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของการปกครองที่มีธรรม
-อันตรายจากการไม่เป็นธรรมของผู้ปกครอง
-ผลกระทบต่อรัฐเมื่อพระราชาไม่อยู่ในธรรม
-การเสพติดความสุขชั่วคราว
-สังคมสงบสุขต้องการหลักธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑.๒ คีรี คือ มั่งวัง ย่อมละพระราชาไม่จดแจงการงาน โงเขลา มีความคิดอ่าน เลขวรรค ไร้ปัญญา เหมือนงูคลอรากับอับอากร ฉะนั้น ข.ช. (โทษ) มก. ๑๖/๑๕๔ ๒.๓ เมื่อตุงโจรข้ามฝากอยู่ ถ้าใจกิจนำจงไปถง ใครองนั้นคิดไปตามกัน ในหมู่มนุษย์ก็ เหมือนกัน ถ้าท่านผู้ได้รับสมอให้เป็นใหญ่ ประพฤติไม่เป็นธรรมไร้ ประชาชนอื่นก็จะประพฤติ ไม่เป็นธรรมด้วย ถ้าพระราชาไม่ตั้งมั่นอยู่ในธรรม รัฐทั้งปวงก็จะเป็น ข.ช. (พี่) มก. ๔/๕๖ ๒.๔ เมื่อถั่วไม่ใหญ่มีผล ผู้ใดเก็บผลยาม ผู้น้อยไม่รู้สะแกผลไม้นั้น ทั้งพิษพันธุ์แส่ง ต้นไม้นันถ่อนพินาศ รัฐเปรียบด้วยต้นไม้ใหญ่ พระราชาปกครองโดยไม่เป็นธรรม พระราชานั้น ย่อมไม่รู้สะแก่รัฐนั้น และรัฐของพระราชานั้นก็อ่อนพินาศ ข.ช. (โพธิ) มก. ๒/๘๓ ๒.๕ กษัตริย์พระองค์ใด ทรงพระอาชญาก็ไม่สมควรจะทรงพระอาชญา ไม่ทรงลงพระราชอาชญาก็ผู้อื่นสมควรลงพระราชอาชญา กษัตริย์พระองค์นั้น เป็นเหมือนคนเดินทางไม่เรียบ ไม่รู้ว่าทางเรียบหรือไม่เรียบ ข.ช.า (ทั่วไป) มก. ๖๐/๑๓๓ ๒.๖ น้ำเต้าขมผลด้วยยาพิษ บูรพ์ที่ร้ายชีวิต ยังไม่อยากตาย รักสุขเกลียดทุกข์ขามถึง พวกชาวบ้านบอกเขาว่า บูรพ์เจริญ น้ำเต้าขมผลด้วยยาพิษ ถ้าท่านหวังจะดื่มก็เต็มตื่น น้ำเต้าขม จักไม่ทำให้ท่านผู้อื่นพอใจสี กลิ่น และรส ครั้นท่านดื่มเข้าไปแล้วก็ถึงตาย หรือได้รับทุกข์ปางตาย บูรพ์นั้น ไม่พิจารณาน้ำเต้าขมอัน ดื่มมีได้วาง น้ำเต้าขมก็ไม่ทำให้เขาผู้ผู้อื่นพอใจสี กลิ่น และรส ครั้นดื่มแล้วถึงตายหรือได้รับทุกข์ปางตาย แม้นึกว่า การสมาทานธรรมนี้ที่ทุกไปในปัจจุบันและมีทุกเป็นวิบากในอนาคต มือจามฉันนั้น ม.ม. (พุทธ) มก. ๑๙/๓๗๙ ๒.๗ น้ำหวาน ๑ ถ้วยนะ น่าดื่ม ถึงพร้อมด้วยสี กลิ่น และรส แต่ผสมด้วยยาพิษ บูรที่รักชีวิต ยังไม่อยากตาย รักสุขเกลียดทุกข์มากถึง พวกชาวบ้านบอกเขาว่า ท่านผู้จริง น้ำหวาน ๑ ถ้วยนะ น่าดื่ม ถึงพร้อมด้วยสี กลิ่น และรส แต่ผสมด้วยยาพิษ ถ้าท่านหวังจะดื่มก็เต็มตื่น น้ำหวาน ๑ ถ้วยนั้น จักทำให้ท่านผู้อื่นพอใจสี กลิ่น และรส ครั้นท่านดื่มเข้าไปแล้วก็ถึงตาย or จักได้รับทุกข์ปางตาย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More