ข้อความต้นฉบับในหน้า
อุปมาอุปมัยจากพระไตรปิฎก
๑.๖ ธรรมดาของยอดไปด้วยอก ฉันใด ก็ภิกษุปรีรรวความคิดเห็น ควรไปด้วยปัญญา ฉันนั้น เพราะจิตของผู้ได้ปัญญาย่อมนำไปสู่ธรรมที่ควรรู้ ย่อมละเว้นสิ่งที่ไม่ควรจำแนกจำฝืนแต่งสิ่งที่ควรจำ.
มิลิน. ๔๕๕
๒. ผู้มีปัญญา
๒.๑ คีลิอับปญาญาชำระให้บริสุทธิ์ ศิลป์ในบุคคลใด ปัญญาก็ในบุคคลนั้น ปัญญามิในบุคคลใด ศิลป์ก็ในบุคคลนั้น ปัญญาเป็นของบุคคลผู้มีศิล ศิลเป็นของบุคคลผู้มีปัญญา และนักปราชญ์ย่อมกล่าวศิล论ปัญญาว่า เป็นยอดในโลก เหมือนบุคคลล้างมือด้วยมือ หรือถ้างเท้าด้วยเท้า ฉะนั้น.
ทีสี. (พฤธ) มก. ๑๒/๑๙๔
๒.๒ ท่านผู้มีความรู้ มีปัญญาเป็นพุทธสุด คิดเหตุการณ์ได้มากย่อมไม่ร้องให้ การที่พวกบันดทบเป็นผู้บรรเทาความเศร้าคาอุให้ นี้แหละเป็นที่สุดยอดเยี่ยมของชน. เหมือนอย่างเกาะเป็นที่นั่งของคนที่ต้องเร่เหยาะในมหาสุมทร ฉะนั้น.
ข.ชา. (ทั่วไป) มก. ๒๖/๒๐
๒.๓ คีรีสาวเป็นพุทธสุด ทรงเสด สังสมสุด ได้ดับรับฟังนาน ทรงจำไว้ คลองปากขึ้นใจ แทงตลอดด้วยดุจวิสุ ส ซึ่งธรรมทั้งหลายอ่งงามในเบื้องต้น งานในทามกลาง งานในที่สุดประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถ พร้อมทั้งพิณญาณะ บริสุทธิบริบูรณ์สิ้นเชิง เปรียบเหมือนในปัจฉิมนครของพระราช มีการสะสมอาวุธมาก ทั้งที่เป็นอาวุธแหลมยาว และอาวุธคม สำหรับคุ้มภัยภายใน และป้องกันอันตรายภายนอก ฉะนั้น.
อัง.สัตต. (พฤธ) มก. ๗๗/๒๖
๒.๔ พระจันทร์ปราศจากมลทินโพล้พลในอากาศ ย่อมส่างไกลกว่าเมฆมกในโลกนี้ ด้วยรัศมี ฉันใด สัมภาคาราแมงเป็นเด็กล ก็ฉันนั้น ย่อมไฟโรจน์กว่าบัติเจ็ดทั้งหลาย เพราะประกอบด้วยปัญญา.
ข.ชา. (ทั่วไป) มก. ๒๑/๔๒
๒.๕ สุตะอัปปะกุจฺฉ ใส่มในทับ คือ หัทย ย่อมคงอยู่รอจาริกที่ศิลา.
อัง.จูฏก. (อรรถ) มก. ๓๕/๖๒