ข้อความต้นฉบับในหน้า
๒๒๒
อุปมาอุปมัยจากพระไตรปิฎก
๑.๔ ธรรมดาแผ่นดินย่อมเป็นที่ตั้งของบ้านเรือน นคร ชนบท ต้นไม้ ภูเขา แม่น้ำ ห้วย หนอง คลอง บึง เนิน นก นรชน ชาย ได้โดยไม่ขอ่วย ฉันใด ก็ผู้ปูราษฎรความเพียรและจะต้องเป็นผู้ว่ากล่าวสั่งสอนผู้อื่น หรือถูกผู้อื่นว่ากล่าวสอนก็ไม่ควรอท้อ ฉันนั้น.
มิลิน. ๔๕๕
๒. ผู้ชุ้มทรัพย์
๒.๑ ควรเห็นบุคคลผู้โอวาท เปรียบประดุจบุคคลผู้ถือกรรมสิทธิ์ ฉันนั้น.
ข.ธ. (พุทธ) มก. ๔๘/๒๙๙
๒.๒ เราจักไม่ประคับประคองพวกเจ้า เหมือนช่างหม้อประคับประคองภาชนะที่ยังดิบอยู่ เราจักข่มแล้วจึงบอก จักยกง่อลงแล้วจึงบอก ผู้ใดมีมรรผลเป็นแก่นสารผู้นั้นจักอยู่ได้.
ม.อ. (พุทธ) มก. ๒๓/๒๕
๒.๓ เราไม่ต้องปราศจากกิษฑ์เหล่านั้น มีฤๅเด้จะทำให้เกิดในกิษฑ์เหล่านั้น ภูมิผั้งหลาย เปรียบเหมือนรทนทีเทียบด้วยม้าคนใน ม้าที่ได้รับการฝึกมาดีแล้วก็เดินไปตามพื้นที่เรียบหรือเดินไปตามทางใหญ่ ๔ แห่งไม่ต้องใช่แล้ว เพียงแต่ยานุสาร์ผู้ฝึกหัดที่ฉลาดชนะรอ แล้วจับสายบังเหียนด้วยมือซ้าย จับแล้วจับมือขวา แล้วก็เตือนให้มันวิ่งตรงไปบ้าง ทั้งเลี้ยวกลับไปตามปราสานบ้าง ฉันใด ก็ผู้ฝึกหลาย เราไม่ต้องพร่ำสอนผู้ฝึกหลายเองๆ ฉันนั้นเหมือนกัน.
ม.ม. (พุทธ) มก. ๑๗/๒๖๓
๓. โทษของการร้วาย
๓.๑ เมื่อธรรมอันเราแสดงแล้วโดยปรายในอย่างนี้ ชนเหล่าใดจึงไม่สำคัญตาม ไม่รู้ตามไม่บันเทิงตาม ซึ่งคำที่เรากล่าวดีแล้ว เจรจาแล้วแก้กัน และกัน เหตุจึงอันเป็นอนุชเหล่านั้นพึงหวังได้ คือ ชนเหล่านั้นจักเกิดความขาดหวังกัน เกิดความทะเลาะกัน วิวาทกัน จักทีม แทงกัน และกันด้วยทอง คือ ปก.
สัง.สขา (พุทธ) มก. ๒๙/๙๙