อุปมาอุปมัยจากพระไตรปิฎก อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หน้า 267
หน้าที่ 267 / 370

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้สำรวจอุปมาอุปมัยที่มีอยู่ในพระไตรปิฎก โดยกล่าวถึงการเปรียบเทียบและความเข้าใจในเรื่องร่างกาย รวมถึงโอกาสที่เกี่ยวข้องในชีวิตและการเข้าถึงพระนิพพาน ซึ่งมีอรรถรสจากการสังเกตและความเชื่อเกี่ยวกับความสะอาดและความอุจจาระของร่างกาย. แนวคิดเหล่านี้ชี้ให้เห็นถึงการพิจารณาในเชิงลึกเกี่ยวกับการดูแลตนเองและความเข้าใจในพื้นฐานของร่างกายมนุษย์ นอกจากนี้ยังพูดถึงพระนางสุเมรธที่แสดงความไม่แยแสต่อร่างกายและการสละในทางบรรพชิต.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของร่างกายในพระพุทธศาสนา
-การเปรียบเทียบในพระไตรปิฎก
-การเข้าถึงความสงบและพระนิพพาน
-การดูแลรักษาความสะอาด
-อรรถรสด้านจิตวิญญาณในชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

22 6 6 อุปมาอปมจากพระไตรปิฎก 6.19 ผู้มีเล็บครบก็มี 20 เล็บ เล็บเหล่านี้ทั้งหมดโดยวรรณะมีสีขาวในโอกาสที่พันเนื้อมีสีแดงในโอกาสติดกับเนื้อ โดยอธิฐาน มีอธิฐานเหมือนโอกาสตามที่ตั้งอยู่ โดยมากมีอธิฐานเหมือนมลิวะชางหรือมีอธิฐานเหมือนปลดปลา โดยทิศ ตั้งอยู่ในทิศทั้งสอง โดยโอกาสตั้งอยู่ปลายนี้ ข.ซ. (อรรถ) มก. ๑๙/๕๕ 22 เธอจงถอนเสียซึ่งความเชื่อของตน เหมือนบุคคลเอามือถอกโจกในสาธารณะ ฉะนั้น เธอจงพอกพูนทางอันสงบ ด้วยว่าพระนิพพานอันสงบแล้ว อัง.สัตก. (พุทธ) มก. ๓๗/๒๗ 22 ภิกษุลวะเวียนสรีระของเธออันมีช่องเก้าช่องเต็มไปด้วยกลิ่นเหม็น ดังชายหนุ่มผู้ชอบสะอาด หลักเลี่ยงมุตตรคูไปจนถึงน่าน. จะนั่น หาว่า คนรู้จักสรีระของเธอเช่นเดียวกัน ฉันรู้จัก ก็จะพากันหลบหนีเธอไปเสี่ยงอย่างใกล้ เหมือนบุคคลชอบสะอาด เห็นหลุมดูดในดูกันแล้ว หลักเลี่ยงไปเสียห่างไกล ฉะนั้น ข.เถร. (เถระ) มก. ๓๕/๕๓ 22 ผีเกิดขึ้นมาได้หลายปี ผิฝีมีกระเป๋าแกลสิ่งไม่แตก 9 แห่ง สิงใดสิ่งหนึ่งจะพึงไหลออกจากปากแผลนั้น สิงห์เป็นของไม่สะอาด มีกลิ่นเหม็น นำรังเกลียดทั้งนั้น สิงใดสิ่งหนึ่งพึงไหลเข้า สิงนั้นเป็นของไม่สะอาด มีลิ่นเหม็น นำรังเกลียดทั้งนั้น คำว่าพืนแล เป็นชื่อของกายอันประกอบด้วยมหาดรุป 9 นี้ มีมารดาบิดาเป็นแดนเกิด เจริญขึ้นด้วยข้าวสุก และขนมสุก มีความกระจัดกระจายเป็นธรรมดา กายนี้ มีปากแผลที่ยังไม่แตก 9 แห่ง สิ่งใดสิ่งหนึ่งยิ่งไหลออกจากปากแผลนั้น สิงนี้ไม่เป็นของไม่สะอาด มีกลิ่นเหม็น นำรังเกลียดทั้งนั้น ดูก่อนอธิษฐานหลาย เพราะเหตุนี้และ เองพื้นหลายเมื่อหนายในภายนี้. อัง.นวว. (พุทธ) มก. ๓๗/๖๙ 22 เมื่อครั้งที่พระนางสุเมรธจะออกบวช ไม่ยอมเข้า พิธีวิวาห์ พระนางกล่าวกับพระชนก และพระชนนี้มีใจความตอนหนึ่งว่า กายนี้เท่าเบื่อ ย่อมสันเนียบ มีลิ่นเหม็นคุ้งไป น่าจะพรึ้งกลัวดูกุหนังบรรจุซุทากที่แผ่นอกเขาบาดีออยู่ ลุกร์จักซากผนั่นว่าเป็นของปฏิกูล ฉะนั้นด้วยเนื้อ และเลื่อเป็นที่อยู่ของหนอน ทำไมลูกกรน่ะ ทั้งพระร่างน่ะพระธนบุตรพระราชานักพระราชบิดาอีกล่ะ ข.ชต. (เถร) มก. ٤๕/๕๐๐ 22 พระเจ้าสินทร์สรามพระนาคเสนว่า ร่างกายเป็นที่รักของบรรพชิตทั้งหลายหรือเหตุใดบรรพชิตจึงอาบน้ำชำระร่างกาย ย่อก้อร่างกายเป็นของเราอยู่หรือ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More