ข้อความต้นฉบับในหน้า
๒๒๔
อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก
๔.๑๐ ตัณหาย่อมเจริญแก้สัตว์ผู้ประพฤติประมาท เหมือนเทถ่านทรายเจริญอยู่ในป่า ฉะนั้น บุคคลผู้อยู่ในอำนาจของตัณหา ย่อมเร่ร่อนในป่าในเขาลำเนาไพร ฉะนั้น
ขุ.เณร. (เณร) มก. ๒๕/๑๔๕
๕.๔. อริยสัจ ๔
๕. บุคคลบางคนในโลกนี้ รู้ตามความจริง แน่นทุกนี้... นี้เหตุเกิดทุกข์... นี้ความดับทุกข์... นี้ข้อปฏิบัติให้ลงความดับทุกข์ เหมือนอย่างคนตาย พึงเห็นรูปทั้งหลายได้ในระหว่างฟ้าแลบในกลางคืน มีดติ ฉันใด
บุคคลบางคนในโลกนี้ รู้ตามความจริงว่า นี้ทุกข์ ฯ ลฯ นี้ข้อปฏิบัติให้ลงความดับทุกข์ ฉันนั้น นั่นเรียกว่า บุคคลมีจิตเหมือนสายฟ้า
อัง. ติก. (พุทธ) มก. ๓๕/๑๑
๕.๒ บุคคลบางคนในโลกนี้ กระทำให้แจ้ง เข้าสิงพร้อมซึ่งโทมัย์ติต ปัญญาวิมุตติอันวา อาสวะมิได้ เพราะสิ้นอาสวะทั้งหลาย ด้วยความรู้ด้วยตนเองอยู่ในปัจจุบัน เหมือนอย่างแก้วหรือหินที่ไม่ถูกเพชรเจาะเสียเลยย่อมไม่มี ฉันใด บุคคลบางคนในโลกนี้ก็จะทำให้แจ้ง ฯ ในปัจจุบันนี้ ฉันนั้น นี่เรียกว่า บุคคลมีจิตเหมือนเพชร
อัง. ติก. (พุทธ) มก. ๓๕/๑๑
๕.๓ คนพาลย่อมไม่รู้สึกว่า ร่างกายนี้เป็นของดำร้อน มีสรอยชื่นใจ ผูกพันด้วยความรักเป็นทุกข์ ฉบใส่ด้วยสิ่งที่น่าชื่นใจ เหมือนมิดโคนอินทนท์ด้วยน้ำผึ้ง ฉะนั้น
ขุ.เณร. (เณร) มก. ๓๕/๒๒
๖. การละตันหา
๖.๑ ผู้ใดยิ่งตันหา นั่น... ซึ่งเป็นธรรมชาติลาม ยากที่จะใครในโลกจะล่วงไปได้ ความโกลาหลหลายย่อมตกไปจากผู้นั้น เหมือนหยาดน้ำตกไปจากใบบัว ฉะนั้น
ข.ธ. (พุทธ) มก. ๔๓/๒๖
๖.๒ ท่ามทั้งหลาย จูงดูราดตันหาเสียเดิม ประหนึ่งผู้ต้องการแผดพูดคุยบางเสี้ยว ฉะนั้น