ข้อความต้นฉบับในหน้า
อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก
ในอดีตชาติเก็อะไรของพระนาคเสน เมื่อครั้งเกิดเป็นพระอาจารย์ของสามเณร เคยอธิษฐานไว้ว่า ช้าค้างจักไม่สำเร็จพนวัตถุด ข้อให้ช้างลำ้ปัญญาไว้ ไม่รู้สึกสังสู่เหมือนกับฝังแม่น้ำ คงคา ให้เป็นผู้สามารถแก้ไขอุปาทั้งปวงที่สามเณรไม่ได้สน สามารถชี้แจงเหตุผลัปลปลายได้ เหมือนกับบุรุษที่มวนกลุ่มด้าย ที่มีสายคดย้อนยู่ ให้รู้ว่าช้างต้นช้างปลายเป็นเช่นนั้น ด้วยอำนาจบุญที่ข้าพเจ้าได้วาวัด และใช้ สามเณรให้ผนหยามนี้อธิบดี
มิสิน ๗
๕. การเสื่อมจากประโยชน์อย่างยิ่ง
๕.1 บุคคลประสงค์จะกินผลมะเดื่อ เขายืนมะเดื่อที่มีผลลูก ผลเป็นอันมากหลงงามด้วยการเข่ายครวดเดียวเท่านั้น เขากินผลที่ควรจะกิน ทั้งผลเป็นอันมากนอกนี้ไปเสีย ฉันใด
บุคคลใดสร็ายเศร้า กระทำรายจ่ายให้มากกว่ารายได้ บริโภคโภค บุคคลนั้นเขาเรียกว่า กินทั้งกินวง เหมือนลุงตุรุตรับผลมะเดื่อคัน ๆ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
อัง.สัตตก. (อรรถ) มก. ๓๗/๕๒๖
๕.2 หางแหลมของเมล็ดข้าวสาร หรือหางแหลมของเมล็ดข้าวเหนียวที่บุคคลตั้งไว้ไม่ตรงมือหรือเท้าเหยียบแล้ว จักทำลายมือหรือเท้า หรือว่าให้ออกเลือด ข้อนี้ใช้ฐานที่จะมีได้ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะหางแหลมของเมล็ดข้าวอันบุคคลตั้งไว้ไม่ตรง ฉันใด
ภูเขานั้นก็นั้นเหมือนกันก็ทำลายอวัยวะ จักรับวิจฉญาให้เกิด จักกำนันพานให้แจ้ง ด้วยจิตที่ตั้งไว้ผิด ข้อนี้ใช้ฐานจะได้ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะจิตตั้งไว้ผิด
อัง.เอก. (พุทธ) มก. ๓๒/๕๒๓
๕.3 พวกเขาไม่ประพฤติพรหมจรรย์ ไม่ได้ทรัพย์ในคราวยังเป็นหนุ่มสาว ย่อมชอบชะแดงกะเรียนแกะ ชนชาวในเมืองตนที่หมดปลา ฉะนั้น
พวกเขาไม่ประพฤติพรหมจรรย์ไม่ได้ทรัพย์ในคราวยังเป็นหนุ่มสาว ย่อมนอนทอดอ่อนลิงทรัพย์เก่าเหมือนลูกครรที่จากแดน ฉะนั้น
ข.อ. (พุทธ) มก. ๑๒/๑๒
๕.4 บุคคลผูกด้วยการไม่ได้ใจโดยแยกคายอย่างนี้ ย่อมเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในพองราไป แปลเหมือนเรือซึ่งถูกแรงลมพัดให้โคลน และแปลเหมือนผู้โศษงตกลงในแม่น้ำให้ไหลวน
มูม. (อรรถ) มก. ๑๗/๑๕๕