อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หน้า 183
หน้าที่ 183 / 370

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในพระไตรปิฎกเกี่ยวกับอุปมาอุปไมยที่สื่อถึงการกระทำที่ผิดและถูกของมนุษย์ เช่น การขออภัยของผู้ประทุษร้าย การวิจารณ์สัตว์และมนุษย์ที่มีภัย รวมถึงการมีพิษและความสามารถในการรักษา รายละเอียดนี้ช่วยชี้ให้เห็นถึงการใช้สัญลักษณ์ในธรรมเพื่อสื่อสารความคิดที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับจิตใจและการกระทำของคน ความรู้จากอุปมาเหล่านี้ยังสามารถใช้สะท้อนในชีวิตประจำวันและการดำเนินชีวิตได้.

หัวข้อประเด็น

-การกระทำที่ดีในธรรม
-การวิเคราะห์อุปมาในพระไตรปิฎก
-ความสัมพันธ์ระหว่างสัตว์และมนุษย์
-การขอความอภัยและผลกระทบ
-การรักษาและพิษในทางแพทย์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๒๗ อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก ๓.๒๒ ชนทั้งหลายผักกระทำความผิด ฐานประทุษร้ายต่อพระราชากิดี ผู้ประทุษร้ายต่อราชสมบัติดี ผู้ยึดถือเมียนประชาชนดี ย่อมจะขอพระราชทานอภัยโทษได้ แต่หาทำอัจฉราให้ยอมหรรคุณปราศได้ไม่ เพราะเหตุนี้ ข้าพระพุทธเจ้า จึงวิเคราะห์ธรรม. ขุ.ซา. (โภธี) มก. ๑๒/๒๖๗ ๓.๒๓ ราชสีห์ดีดี เสือโคร่งดีดี เสือเหลืองดีดี ย่อมฆ่ามีเคี้ยวกินสัตว์ที่ดินรนอยู่ได้ แต่ไม่สามารถจะเคี้ยวกินมัจฉารได้ เพราะเหตุนี้ ข้าพระพุทธเจ้า จึงวิเคราะห์ธรรม. ขุ.ซา. (โภธี) มก. ๑๒/๒๗๒ ๓.๒๔ นักเล่นกลทั้งหลาย เมื่อทำมวยกล ณ ท่ามกลางสนาม ย่อมลงมยันต์ว่าประชาชนในนี้น่าให้ลงเชื่อได้ แต่ไม่สามารถจะลงมุจจราจให้หลงเชื่อได้เลย เพราะเหตุนี้ข้าพระพุทธเจ้า จึงวิเคราะห์ธรรม. ขุ.ซา. (โภธี) มก. ๑๒/๒๗๗ ๓.๒๕ อสรพิพ์ที่มีพิร้าย โคร่งขึ้นมาแล้ว ย่อมขบกัดคนมนุษย์ถึงตายได้ แต่ไม่สามารถจะขบกัดมิจฉาราชให้ถึงตายได้ เพราะเหตุนี้ ข้าพระพุทธเจ้า จึงวิเคราะห์ธรรม. ขุ.ซา. (โภธี) มก. ๑๒/๒๗๘ ๓.๒๖ อสรพิิทธโกรธขึ้นแล้วขบกัดดูด หมอทั้งหลายย่อมอ่อนพิษร้ายนี้ได้ แต่ขออยากพิษของผู้อื่นจาระร่ายรายหาได้ไม่ เพราะเหตุนี้ ข้าพระพุทธเจ้า จึงวิเคราะห์ธรรม. ขุ.ซา. (โภธี) มก. ๑๒/๒๗๘ ๓.๒๗ แพทย์ผู้ชื่อเสียงเหล่านี้ คือ แพทย์ธรรมมมนตรี แพทย์เยวดุรณ แพทย์โกะอาจจะกำจัดพิษพระยานาคได้ แต่แพทย์เหล่านี้ต้องทำการริบเบียนอาการ เพราะเหตุนี้ ข้าพระพุทธเจ้า จึงวิเคราะห์ธรรม. ขุ.ซา. (โภธี) มก. ๑๒/๒๗๙ ๓.๒๘ วิชารักษาหหลาย เมื่อร่ายอาคมชื่อ โอมรมณ์ ย่อมหลายตัวได้ด้วยโอกาสหลาย แต่จะหยุดตัวไม่ให้จรูจราหนี้ได้ไม่เลย เพราะเหตุนี้ ข้าพระพุทธเจ้า จึงวิเคราะห์ธรรม. ขุ.ซา. (โภธี) มก. ๑๒/๒๘๐ ๓.๒๙ สัตว์ที่เกิดมาอาฆาตโดยความตายนั้นเหมือนผลไม้สุกแล้วมีภัย โดยการหล่นในเวลาเช้า ฉะนั้น. ขุ.ม. (พุทธ) มก. ๕/๕๐๖
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More