ข้อความต้นฉบับในหน้า
๙๘
อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก
เปรียบเหมือนต้นไม้ที่มีรัง และใบสมบูรณ์ แม้กะเทาะของต้นไม้นั้นก็อ่อนสมบูรณ์ แม้แตะเลือด แม้กระพี้ แม้ก้นของต้นไม้นั้นก็อ่อนบริบูรณ์ ฉันนั้น
อัง.อัฏลูก. (พุทธ) มก. ๓๗๙/๖๙๙
๑๑.๑๑ พระเจ้ามิลินทร์สรามพระนาคเสนว่า สติลักษณะอย่างไร
พระนาคเสนุตอบว่า สติมีการเตือนเป็นลักษณะ คือ เมื่อเกิดขึ้นมาก็เตือนให้รู้สิ่งที่เป็นกุศล ออกศลมิใหโม่ ไม่มีโทษ เหมือนขุนคลังของพระราชา คอยทูลรายงานพระราชาในยามเช้า เย็น สติมีการเข้าไปในลักษณะ คือ เมื่อเกิดขึ้น ก็อาจเอาแต่ธรรมมีประโยชน์ มีอุปการะเหมือนนายประตูของพระราชาที่กำจัดพวกไม่มีประโยชน์ ให้เข้าไปตำพวกมีประโยชน์.
มิลิน. ๓๙
๑๑.๒ การเจริญสติ
๑๑.๒.๑ นรชนในพระศาสนานี้ พึงผูกจิตของตนให้มั่นในอารมณ์ ให้มันด้วยสติ เหมือนคนเลี้ยงโค เมื่อจะฝึกโค ก็ผูกมันไว้ที่หลัก ฉะนั้น.
ที.ม. (อรรถ) มก. ๑๙/๒๙๓
๑๑.๒.๒ บานประตู คือ สติที่รู้ว่านภาระสำรวมทางจักขุทรีปัจเจก เป็นเหมือนคนปิดบานประตูที่ประกรีดร้อน ฉะนั้น.
ม.ม. (อรรถ) มก. ๓๗/๑๘๐
๑๑.๒.๓ มีสติ และสัมปชัญญะในการกระทำทุกอย่าง แล้วไม่มีความติดข้องในรสมทั้งปวงเหมือนหยาดน้ำไม่ติดบนใบบัว ฉะนั้น.
ข.อ. (พุทธ) มก. ๔๕/๕๕๙
๑๑.๒.๔ มนีพิ้งค์ตั้งสติอย่างไวในบ้าน เหมือนบุรุษผู้ไม่ใส่รองเท้า ตั้งสติเที่ยวไปในที่มีหนาม ฉะนั้น.
ข.เณร. (อรรถ) มก. ๓๕/๖๘๘
๑๑.๒.๕ บุคคลพึงประคองภาชนะอันเต็มเปี่ยมไปด้วยน้ำมัน ฉันใด บัณฑิตผู้ปรารถนาไปสู่อีกที่ยังไม่เคยไป ก็พิพากษารักษาจิตของตนไว้ด้วยสติ ฉันนั้น.
ข.ชา. (พุทธ) มก. ๕๕/๕๓
๑๑.๒.๖ ธรรมช้างอย่ามีสติอยู่ทุกเวลายกเท้าขึ้น วางเท้าลง เวลาอย่างงั้น ฉันใด ก็ภิกษุผูปรารถนาความเพียรจำก็มีสติสัมปชัญญะทุกเวลายกเท้าขึ้น วางเท้าลง เดินไปเดินมา ฉันนั้น.
มิน. ๔๔๘