ธรรมะและการปลดปล่อยจากทุกข์ อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หน้า 284
หน้าที่ 284 / 370

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงความสำคัญของการเข้าใจธรรมะ การปลดทุกข์ และการมีจิตใจที่มั่นคงเพื่อไม่ให้ติดในข้อบกพร่อง เช่น ความประมาท และความพอใจในสิ่งที่ไม่ยั่งยืน โดยชี้ให้เห็นว่าสัตว์และมนุษย์มักอยู่ในสภาพที่ถูกความไม่รู้ผูกติดอยู่ การวางใจให้มั่นคงและพิจารณาปัญญาในชีวิตจะช่วยให้สามารถหลุดพ้นจากความทุกข์ได้ นอกจากนี้ยังอธิบายถึงความสำคัญของการเจริญพฤติกรรมที่ดีและทำจิตให้แน่นหนาเพื่อลดทุกข์ทรมานในชีวิต

หัวข้อประเด็น

-ธรรมะ
-ความทุกข์
-การปลดปล่อย
-ความสำคัญของจิตใจ
-ความประมาท

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อุมาภูมิไม่ยาจพระใครภูมิ ๔.๕ ต้นหนานั้นแลเป็นเช่นดั่งข่าย ท่องเที่ยวไป แม่ชานไปเกาะเทียวออในอารมณ์ต่างๆ เป็นเครื่องปลดปลุมนุ่งสัตว์โลกลนี้ เหมือนด้ายอังอุ้งหงอง ขอดเป็นปม เป็นเหมือนหญ้ากระจาย และหญ้าป้อง ไม่ใส่ลงพยันอายุ เท็ด วิฒธ และลงสารไปได้ อัง.จตุกบ. (พุธ) มก. ๔๗/๕๙๑ ๖. ขันสำรีดใสนั้น ที่ถึงพร้อมด้วยสี กลิ่น และรส แต่ว่าเจือด้วยพึงนั้น มีบรรูดเดินฝความร้อนอบอ้าวเหนื่อยเมื่อยล้า กระหายน้ำ คนทั้งหลายจึงได้พูดคุยกันอย่างนี้ว่ามาย ขันสำรีดใสนั้น ถึงพร้อมด้วยสี กลิ่น และรส แต่ว่าเจือพียง ถ้าหามประสงค์ก็จะดีถด เพราะว่ามือดื่มนั้นก็ Gิกชาติมันด้วยสี กลิ่น รสต่าง ก็เหล่าครั้งดื่มเข้าไปแล้ว ตัวท่านจะถึงความตาย หรือถึงทุกข์แทบจะตาย เพราะการดื่มนั้นเป็นเหตุดัรั้น ดั่งนี้ บูรณ์ผลบผลไม่ทันพิจารณาดื่มน้ำนี้เข้าไปไม่บัวทิงเลย เขาก็พึงถึงความตาย หรือถึงทุกข์แท้ตาย เพราะการดื่มนั้นเป็นเหตุการณ์ ใบ้ฉัน สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด เหล่านี้นี้ได้ดีดกาด ได้เห็นอารมณ์อันเป็นรัก เป็นที่ชื่นใจในโลก ฯล ฯ ในอนาคต ฯ ฯ สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่านั้นในปัจจุบันนี้ เห็นอารมณ์อันเป็นที่รัก เป็นที่ชื่นใจในโลกนี้ โดยความเป็นของเที่ยว โดยความเป็นสุข โดยความเป็นตัวตน โดยความเป็นของไม่มีโรค โดยความเป็นของเทศบ สมณะหรือพราหมณ์เหล่านี้กล่าวว่า ชื่อว่า ย่อมทำทุกอย่างให้จริงจัง สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดทำอุปนิสัยให้จริงจัง สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดย่อมไม่พลัดกัน ชาติ ชรา มรณะ โรคา ไปรเทวะ ทุกสา โทมนัส และอุปายาส เรากล่าวว่า เขาย่อมไม่พลัดกันไปจากทุกข์ได้เลย ก็ฉะนั้นเหมือนกันแล สัง.นี้. (พุทธ) มก. ๒๕/๒๙๕ ๔.๙ ผูกเครื่องผูก คือ ทิฐิผูกไว้ที่เสา คือ สักกายทิฐิ เหมือนสุขผูกผูไว้ที่เสาไม้ฉะนั้น ขุ.เสฎ. (อรรถ) มก. ๒๕/๒๕๕ ๔.๙ สัตวทั้งหลายเป็นดังคนตาบอด เพราะเป็นผู้ไม่เห็นโทษในมนุษ ลูกขา คือ ต่านาหปกคลุมแล้วถูกก้นา คือ ต้นหาปกปิดแล้ว ถูกมารผูกแล้วด้วยเครื่องผูก คือ ความประมาทเหมือนปลาในปากไซ ขุ.เสฎ. (อรณะ) มก. ๒๕/๒๕๐ ๔.๙ สัตวเหล่านี้ ถูกามผูกไว้ด้วยความประมาท คือ ถูกเครื่องผูก คือ กามอันใดผูกไว้ย่อมไม่ละพ้นจากเครื่องผู้นั้น คือ ติดอยู่ในภายในเครื่องผูกนั้นเอง เหมือนปลาติดอยู่ปากฉะนั้น ขุ.เสฎ. (เณร) มก. ๒๕/๒๕๕
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More