การวิเคราะห์กายและธรรมชาติของมนุษย์ อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หน้า 265
หน้าที่ 265 / 370

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงความซับซ้อนของกายมนุษย์ ซึ่งถูกเปรียบเทียบกับสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติ โดยมีการอภิปรายเกี่ยวกับความไม่เที่ยงและการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย และความเป็นไปของชีวิต การอ้างอิงถึงบทคัดจากพระไตรปิฎก ชี้ให้เห็นว่า กายอย่างไรย่อมมีการเสื่อมสลาย เขียนเน้นความเข้าใจในลักษณะนี้ เพื่อให้ผู้อ่านได้พิจารณาชีวิตตามแนวพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของกายมนุษย์
-การเปรียบเทียบกายกับธรรมชาติ
-ความไม่เที่ยงของชีวิต
-แนวทางพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๖ อุปมาผู้มาจากพระใครปรูปลา ๖.๖ ชายหญิงทั้งหลายถ่ายรูปส่งในที่ถ่ายอาจจะ ทั้งไปอย่างไม่อาลัย ไม่มีความ ต้องการอะไร ฉันใด เราจะตั้งกายที่เต็มไปด้วยกากพานชนิดไป เช่นคนถ่ายอาจจะแล้ว ละทิ้งสัมไป ฉะนั้น ข.อ.พิธ) มก. ๓๐/๑๙ ๒.๗ แม้ว่าความในเมณฑ์ธรรมมิได้ เพราะเหตุนางตันหา นางอรดี และนางรารา ความพอใจในเมณฑ์ ในฉลามก็เพราะเห็นธีระอันเต็มไปด้วยมุตตรและกริสินีเล่า เราไม่ปรารถนาจะ ถูกต้องธีระนั้นแต่ด้วยเท้า ข.ม. (พฤธิ) มก. ๒๕/๙๑ ๒.๘ กายแม้มิผิดดังทอง เขาก็เรียกว่ากายเน่า ฉันใด แม้พุทธตรีใหม่เอี่ยม เขาก็เรียกว่า น่ามตราเน่า ฉันนั้น อัง.ฉกุกก. (อรรถ) มก. ๑๕/๖๔ ๒.๙ กระดูกเหล่านี้ อันเขาทิ้งเกลื่อนกลาดดูดข้าในสารกาล มีสิเหมือนนกพิราบ ความยินดีอะไรล่าครั้ง เพราะเห็นกระดูกเหล่านั้น ข.ว. (อรรถ) มก. ๒๒/๖๘ ๒.๑๐ คนฆ่าใครหรือถูกมือของคนฆ่าใครผู้อื่น ฆ่าโคแล้วง่มเป็นส่วนๆ ใกล้ทางใหญ แยก ฉันใด ดูก่อนก็หลายหลาย ฉันนั้นเหมือนกันเสล ภิกษุอย่ามิจฉาเห็นกายนี้แล้ว ตามที่ ตั้งอยู่ ตามที่ดำรงอยู่ โดยอาวุธ มีอยู่ในกายนี้ คือ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม ม.อ. (พุทธ) มก. ๒๒/๖๘ ๒.๑๑ ไม่ช้าร่างกายที่ปราศจากวิญญาณ อันหมู่อดก็แก่ยุติกลายทอดทั้งไปเหมือนท่อนไม้ เขา ก็พากันนำไปชำ ข.เทร. (เทร) มก. ๕๕/๘๕ ๒.๑๒ สรีระนี้นั่งอันชำผิวฉลาก คือ คิลปาจารย์ผิวฉลากในหมู่ชนกระทำไว้เกลี้ยงเกลา จิตใจตรงลงตาม ประพรมด้วยน้ำครั้ง เป็นต้น แต่ภายในเต็มด้วยของไม่สะอาดツ เป็นดัง เป็นจุ สมุฏ (ถ่านทำจากใบดองแห้งเป้นผลประสมกับรัศมีขลิง สำหรับรองพื้นก่อนเขียนลาย รดน้ำปิดทอง) น่ารังเกียจแต่เพียงผิว เป็นที่ลุ่มลงแห่งพาชน ข.เทร. (อรรถ) มก. ๕๕/๘๕
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More