อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หน้า 255
หน้าที่ 255 / 370

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจอุปมาอุปไมยในพระไตรปิฎก ซึ่งชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของความเพียรและจิตใจในเรื่องการหลุดพ้นจากกามและความทุกข์ อุปมาถึงร่างกายและจิตใจที่ปรากฏความงามแต่แฝงไว้ด้วยความหรืออารมณ์ที่มืดมน เช่นเดียวกับช้างที่ติดหล่ม ไม่สามารถช่วยตนเองให้หลุดพ้น และการกระทำของสัตว์ที่ถูกบอบช้ำจากวัสดุต่างๆ ก็เปรียบเสมือนกับความโศกเศร้าที่เกิดจากกามที่อยู่รอบตัวเรา บทความนี้เป็นการกระตุ้นให้ผู้อ่านไม่ยอมแพ้ต่อกามและเน้นการฝึกฝนจิตใจเพื่อความหลุดพ้นจากความทุกข์.

หัวข้อประเด็น

-อุปมาอุปไมย
-ความเพียร
-จิตใจและอารมณ์
-กามและความทุกข์
-สัญลักษณ์ในพระไตรปิฎก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

254 อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก บุคคลมีใจไม่ฟังซานด้วยถามรคะ? ไม่ถูกถามรคะเหยียวรังไปและย่อมรู้ ย่อมเห็นอายเป็นเครื่องสลัดออก ซึ่งถามรคะทีบงกิดขึ้นแล้วความเป็นจริง ฯ. สัง.ม. (พุทธ) มก. ๓๐/๒๕ 2.15 ร่างกายของชายที่อาบน้ำสะอาดแล้ว ผูได้ล้างและแต่งดีแล้ว แต่ผิวหนังจะละเอียดตกลงร่างกาย จะมีคล้ำปรากฎจากความงาม ทำให้ผู้นั้นหมอง ฉันใด ก็ริบผู้รำราวความเพียรทั้งหลาย ก็ฉันนั้นเหมือนกัน แม้มแล้วโดยทางอากาศ เหะได้ด้วยกำลังฤทธิ์ ปรากฎแล้วในโลกเหมือนพระจันทร์ และพระอาทิตย์ ก็มีสีผิวงองปรากฎความงาม เป็นผู้สร้างหมองแล้ว เริ่มแต่เวลาที่รุ่ง คือ กามตกลงไปในภายในครังเดียว เพราะคุณความดี คือ สี... คือ ความงามและ... คือความบริสุทธิ์ถูกจัดแล้ว อนึ่ง คนทั้งหลายแม้จะสะอาดดีแล้ว ก็จะมีสีดั่งเหมฝรื่น เริ่มตั้งแต่เวลาถูกครรมนั้น วิญญูปรารภความเพียรทั้งหลาย ก็ฉันนั้นเหมือนกัน แม้สัญลักษณ์ก็เหลือเกิน ก็จะปรากฎเป็นเหมือนคนผิวดำ ทามกลางมหาชนเดียว เพราะถึงความพินาศแห่งคุณความดี เริ่มต้นแต่เวลาที่ถูกครัน คือ กามรมณ์. ข.ซา. (อรรถ) มก. ๕๙/๕๙ 2.16 ช้างจงอย่ำท่ามกลางหล่มแล้ว ย่อมไม่อาจถอนตัวไปสู่ที่ตนได้ด้วยตนเอง ฉันใด ข้าพเจ้าจงอย่ำอยู่ในหล่ม คือ กามิเลส ก็ยังไม่สามารถปฏิบัติหนทางของกามิให้ได้ ฉนั้น. ข.ซา. (ทั่วไป) มก. ๖๐/๖๕ 2.17 โปรดอย่าหุนไปหมุนมาเพราะกามทั้งหลาย จุดสูญสูญกลายโอซะเลย เพราะกามทั้งหลาย จักทำผู้นั้นให้เป็นเหมือนคนฉับหวิด ได้สูญก็ทำให้พนากได้. ข.เทรา. (เริ่) มก. ๕๕/๙๙ 2.18 สัตว์ผู้ลูกครรที่ทำด้วยเหล็กแทงบ้าง... ทำด้วยกระดูกแทงบ้าง... ทำด้วยงาแทงบ้าง... ทำด้วยเขาแทงแล้วบ้าง... ทำด้วยไม้แทงบ้าง ยอมกระสับระสายหวีด คีรัน จุกเสียด เจ็บปายเจ็บใจ ฉันใด ความโศก คำครวญ เจ็บตาย เจ็บใจ และคับแค้นใจ ย่อมเกิดขึ้นเพราะวัตถาคามทั้งหลายแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป สัตว์นั้นถูกลูกครร คือ กามแทงแล้ว ย่อมกระสับระสาย หวั่นไหว ดันรุน จุกเสียด เจ็บปาย เจ็บใจ ฉันนั้นเหมือนกัน. ข.ม. (อรรถ) มก. ๒๕/๒๖
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More