ข้อความต้นฉบับในหน้า
ී ๑๙๙๙
อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก
๓.๑๓ ดวงอาทิตย์ย่อมมีรัศมีเป็นมาลา ฉันใด ภูกู่ผู้ปรารถนา ความเพียร ก็สมดังรัศมีเป็นมาลา ฉันนั้น.
มิลิน ๔๙
๓.๑๔ ธรรมดาปลังเกาะในทะเลได้ดั่ง ต้องเกาะให้แน่นในนั้นแล้วจึงดูดเลือด ฉันใด ภิกษุ ผู้ปรารถนา ความเพียร ก็สมดังเกาะในอารมณ์ได้ ควรราะอารมณ์นั้นให้แน่นด้วย สี สันฐาน Тิศ โอกาส กำหนดเพศ นิยมแล้วดั่งภูติอันบริสุทธิ์ด้วยอารมณ์นั้น.
มิฬิน ๕๓
๓.๑๕ เพราะจิตของเธอซ่านไปในอารมณ์ทั้งหลายมีรูป เป็นต้นมานาน ย่อมไม่ประสงค์จะ ลงสู้ถิแแห่งมูลฐาน คอยแต่จะแล่นออกนอกทางทำเดียว เหมือนเวียนที่เทียบด้วยโคลน. จะนั่น.
ทีม. (อรรถ) มก. ๑๔/๒๙๒
๓.๑๖ คนอ่อยไว้รอช้าให้แก่มารดา และมดลูกผู้หญิงชั่วอยู่ แล้วนั่งอยู่ในโสนเราชิงในที่ นั้นเอง เมอระนั่งชิงไว้ไปอยู่โดยลำดับ ย่อมเห็นที่สุดทั้งสองข้าง และตรงกลาง แต่มิได้ ขวนขวายเพื่อจะดูที่ที่สุดทั้งสองข้างและตรงกลาง แม้นใด ภิกษุนี้ก็น่าจะเข้าใกล้โคนเสานี้เข้าไปดูได้ว่าจะอามาสติ แล้วไล้ชิงว่า คือ ลมหายใจเข้าและหายใจออก นั่งอยู่ด้วยสติในมิตินั้นเอง ส่งสติไปตามเบื้องต้น ท่ามกลาง และ ที่สุดแห่งมาหใจเข้า และลมหายใจออก ในจานที่สูบก้องต้องแล้วซึ่งพัดผ่านมานผ่านนอนโดยลำดับ และดั่งจิตเอาไว้ในมิตินั้น ๆ และไม่ขวนขวายเพื่อจะดู ลมหายใจนั้น นี่เป็นอุุปมานเหมือนคนอุ่น
วิม.ท. (อรรถ) มก. ๒/๒๕๕
๓.๑๗ แม้น้ำคงคาไหลไปสู่ศุปลรำ แล้วไปสู่ศุปลรำ บำไปสู่ศุปลรำ ฉันใด ภิกษุ เจริญกระทำให้คนชิงมา ย่อมเป็นผู้อ่อนไปสู่ศุปลรำ โน่ไปสู่ศุปลรำ โอนไปสู่ศุปลรำ ฉันนั้นเหมือนกัน.
สัง.ม. (พุทธ) มก. ๓๑/๒๑
๓.๑๘ ธรรมดาแมลงป่องย่อมมีงเป็นอาวุธ ย่อมชุ้งหางของตนเที่ยวไป ฉันใด ภิกษุผู้ปรารถนา ความเพียร ก็สมดังความเพียร (ความรู้แจ้ง) เป็นอาวุธ ควรชูฐาน ฉันนั้น เอาพระบรรพ ซึ่ง ญาณ ผู้เห็นธรรมด้วยอาการต่างๆ ย่อมพันจากภัยทั้งปวง ภิกษุนี้ย่อมอดทนสิ่งที่ตนได้จากในโลก.
มิลิน ๔๕๙
๓.๑๙ ธรรมดาดาวอาทิตย์ย่อมทำให้เห็นดวงดาวแล้ว ฉันใด ภิกษุผู้ปรารถนาความเพียร ก็ทำให้เห็นโลกธรรม โลกุตธรรม ด้วยอ้อนริย์ ทีละ โพธิ์งค์ สติปัฎฐาน สัมปปธาน อภิรตา ฉันนั้น