อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หน้า 188
หน้าที่ 188 / 370

สรุปเนื้อหา

ในพระไตรปิฎกมีการใช้เปรียบเทียบเพื่ออธิบายความหมายของกรรมและจิตวิญญาณ เช่น การเปรียบเทียบการละร่างเหมือนคนถอดเสื้อ รวมถึงความสำคัญของสติที่ช่วยให้คนสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความมุ่งหมาย นอกจากนี้ยังเปรียบเทียบธรรมะกับธรรมชาติ เช่น ฟองน้ำที่ไม่สามารถถือได้เป็นอุปมาอุปไมยในการทำความเข้าใจในหลักธรรมที่มีความไม่มั่นคงและการถือกิเลสที่ไม่เป็นประโยชน์

หัวข้อประเด็น

-การเปรียบเทียบในพระไตรปิฎก
-ความสำคัญของการมีสติ
-ธรรมะและกรรม
-ความไม่มั่นคงของชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๗๗ อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก ๑๐.๑๔ ลูงทั่งคราบเก่าของตนจากร่างในระหว่างต้นไม้ ในระหว่างไม้ฟืน ในระหว่างโคนต้นไม้ หรือในระหว่างแผ่นดิน เหมือนคนถอดเสื้อแล้วไปตามต้องการ ฉันใด สัตว์ผู้มุ่นเวียนไปในลงสาร ก็ฉันนั้น เหมือนกัน ละร่างของตน คือ สรีระของตน อันอั่วว่า เป็นของคร่ำคร่า เพราะกรรมเก่าหมดสิ้นไป คือ ไปตามกรรม. ข.เปต.(อรรถ) มก. ๕๙/๑๒๕ ๑๐.๑๕ ร่างกายไม่เป็นทรีรของบรรพชิต แต่งบรรพชิตร่างกายไว้เพื่ออนุเคราะห์พรหมจรรย์ เหมือนบุคคลรักษาแผลให้หายเป็นปกติ แต่ไม่ได้รักษาแผล ฉะนั้น. มิน. ๑๔๕ ๑๐.๑๖ พวกสัตว์ทั้งหลายอาศัยแผ่นดิน แตไม่มีอำนาจในแผ่นดิน ฉันใด จิตของพระอรหันต์อาศัยกาย แตไม่มีอำนาจทางกาย ฉันนั้น. มิน. ๒๑๒ ๑๐.๑๗ ฟองน้ำนัน่ ใคร ๆ ไม่สามารถจะจับเอาด้วยความประสงค์ว่า เราจะเอาฟองน้ำนั้นทำภาชนะ or ถาด แตกฉันใด แล้วจับแล้วไมให้สำเร็จประโยชน์นั้นได้ ย่อมสลายตัวทันที ฉันใด แม้ปกฉันนั้นใคร ๆ ไม่สามารถถือได้ว่า เราหรือของเรา แม้ถือแล้วก็ยังคงอยู่เองไม่ได้ ยอมเป็นเช่นเดียวกับฟองน้ำนอย่างนี้ทีเดียว คือ ไม่ทึบ เป็นทุกข์ เป็นอัตตา ไม่สวยงามอาลัย. สัง.ข. (อรรถ) มก. ๒๗/๒๑๙ ๑๑. สติ ๑๑.๑ ประโยชน์ของการมีสติ ๑๑.๑. เกลือจะตุ้นอยู่แม้นิ่นกับข้าวทั้งปวง ฉันใด และอามาตะผู้ประกอบงานทั้งปวงจงทำหน้าที่รับ ทำหน้าที่ปรึกษาบ้าง ทำหน้าที่สนับสนุนบ้าง รวมความว่า ย่อมทำกิจทุกอย่างให้สำเร็จได้ ฉันใด การฆ่ามิตฟุ้งซ่าน การยกธรรมที่หด กิเลสทั้งหมดจะสำเร็จได้ด้วยสติ. สัง.ม. (พุทธ) มก. ๓๐/৩০๙ ๑๑.๒ สติมีการเตือนเป็นลักษณะ เหมือนขุนคลังของพระราชา คือ เมื่อเกิดขึ้นก็เตือนให้รู้จักสิ่งที่เป็นบุคคล และอุปคสม.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More