อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หน้า 117
หน้าที่ 117 / 370

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สรุปอุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก โดยนำเสนอเรื่องราวของพญานาคและพระโอรส รวมถึงอุปมาในชีวิตของมโหสถบัณฑิต ที่ทำให้เกิดความเข้าใจในบทเรียนที่ลึกซึ้งและการตีความในภาษาและวรรณกรรมของพระพุทธศาสนา สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-อุปมาอุปไมยในพระไตรปิฎก
-กรณีศึกษาพญานาค
-บทบาทของมโหสถบัณฑิต
-ความรู้จากพระโอรส
-การตีความในวรรณกรรมพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๑๙ อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก พญานาค : ข้าแต่ท่านโกสียะ บดน้อยทั้งหลายของข้าพเจ้ายังอ่อน ขุนปักษิพไม่ขึ้น บดน เหล่านั้นซ้ำข้าพเจ้าเลี้ยงมาแล้ว เขาจำเลี้ยงข้าพเจ้าบ้าง เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้าจึงถือว่า ให้บูชเหล่านี้งว่ ขุ.ชาฯ. (ไพร) มก. ๑๖/๓๗๗ ๒.๓ พระนางเจ้ามิทรทอดพระเนตรพระโอรสทั้งสองเสด็จมาโดยสวัสดีแต่ไกล ทรง สันรั อไปทั่วพระอุบาย เหมือนเม็ดทีสีลง ฉะนั้น น่านมีกไหลออกจากพระขันทั้งคู่. ขุ.ชาฯ. (พุทธ) มก. ๔/๕๙๙ ๒.๔ พระลักษ์องค์สองพระองค์จะขุมขมมอไม่ได้ป่วยฝน เคยนิคอยต้อนรับแม่อยู่ที่ตรังนี้ ดังลูกโลอืนยนิคอยช่างหาแม่ ฉะนั้น. ขุ.ชาฯ. (ทั่วไป) มก. ๔/๕๐ ๒.๕ มโหสถบัณฑิตเข้าเฝ้าพระราชา เมื่อถึงที่ประทับได้ทำสัญลักษณ์กับบิดา บิดากัลย จากอาสนะ ให้มโหสถบัณฑิตนั่งแทน พระราชาทรงเลียพระทัยที่มรยทรงโลงเป็นเช่นนั้น ไม่เหมือนกันเกียรติศพที่ได้มา มโหสถบัณฑิตอิจฉาว่า ถ้าพระองค์สำคัญว่านูตร ลาของพระองค์นี้ ก็ประเสริฐกว่าม้าจัด เพราะว่าเป็นพ่อของม้าจัด พระโพธิสุตระทำเช่นนั้น เพื่อแก้ปัญหาให้แจ่มแจ้ง ประกาศความเป็นบุตร และ ข่มวัคมองอาจารย์ถึงที่คอยขัดขวางมโหสถบัณฑิตไม่มาเข้าเฝ้าพระราชา มิใช่ประสงค์จะดู หมิ่นบิดา ขุ.ชาฯ. (ไพร) มก. ๖/๒๕๙
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More