การฝึกผู้มีความเพียรเพื่อพ้นจากความชั่ว อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หน้า 166
หน้าที่ 166 / 370

สรุปเนื้อหา

บทนี้กล่าวถึงความสำคัญของความอดทนและความเพียรในชีวิตของพระภิกษุ โดยนำเสนอการรักษาจิตให้สงบและการหลีกเลี่ยงความชั่วร้ายเปรียบเทียบกับการเดินทางของพ่อค้าที่หลงทาง นอกจากนี้ยังกล่าวถึงการอบรมสติและสมาธิเพื่อให้ผู้อยู่ในศีลธรรมสามารถหลุดพ้นจากกามวิตกและอุปสรรคต่างๆ โดยยกตัวอย่างวิธีการและเปรียบเทียบเพื่อให้เห็นภาพชัดเจนและเข้าใจถึงธรรมะที่พระพุทธเจ้าได้สอน.

หัวข้อประเด็น

-ความอดทน
-ความเพียร
-การหลีกเลี่ยงความชั่ว
-การรักษาสติเพื่อชีวิตที่มีคุณธรรม
-บทเรียนจากการเดินทาง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๙๙ อุบาสาไม่จากพระใดๆปฤฏิญาณ ความอดทนทะนงความขะมักเขม้น ความไม่ท้อถอย สติ และสมปชัญญะ ให้มีประมาณยิ่ง เพื่อความธรรมทิ้งหลายที่เป็นบาปอุศลเหล่านั้น ฉันนั้นเหมือนกัน. อัง. ทลก. (พุทธ) มก. ๓๘/๑๙๐ ๒.๖ รักษาผู้วรารความเพียรนั้น ยังมีจิตวิททั้งหลายให้สงบระงับ เปรียบเหมือนฝนยัง ดี้ทีละลมพึ่งขึ้นแล้วใหสงบ ฉะนั้น. ข.อิท (อรรถ) มก. ๕๙/๕๕๕ ๒.๗ ธรรมในแผ่นดินแดนพระเจ้าจักรพรรดิย่อมไม่มีโจรผู้ร้าย ฉันใด ภิกษุวรารความเพียรไม่ควรให้โจรผู้ร้าย คือ กามวิตก พยาบาทวิตก วิ่งหลาวิตก ฉันนั้น. ข้ออันสมกับพระพุทธเจ้า ว่า ผู้ใดยินดีในภาวะวิกฤต อบรมสั่งสอนะ มีสัตย์ทุกเมื่อ ผู้ขึ้นจะทำ ที่สุดแห่งทุกได้ จะตัดเครื่องผูกแห่งมารได้. มิติน. ๑๔๓ ๒.๘ ธรรมดาในแดนหนอมังเข็มทิศด้วยตนเอง ไม่ให้ผู้อื่นแตะต้อง ฉันใด ภิกษุวรารความเพียร ควรหลีกวันทุจริต ฉันนั้น. มิติน. ๑๔๓ ๒.๙ ธรรมดา ง เมื่อเที่ยวไปอพยพลิกฉันยงนรสาย ย่อมปรากฎเหมือนเท่าก่อนเมฆที่ลอยอยู่ บนฟ้า แก่ภิกษุผู้มีจิตเลสเครื่องย่วตน แสวงหาความสะดวกเป็นนิตย์. ข.เถร. (อรรถ) มก. ๕๙/๒๓๒ ๒.๑๐ เปรียบเหมือนพ่อค้าเวียนหนูใหญ่ เดินทางจากกาตะวันออกไปกาตะวันตก แล้วได้แยกกองเวียนออกเป็น ๒ กอง กองละประมาณ ๕๐๐ เสม ให้ขวบหนึ่งส่งหน้าไปก่อน อีกขวบหนึ่งจะตามไปปลายหลัง ขวบที่ส่งหน้าไปก่อนถูกคนเดินสวนทางหลอกให้หญ้าทั้งน้ำ กล่าวว่าข้างหน้าแผดหนักในทางกันดาร พุ่มไผ่ หญ้า ไม้ และน้ำบริบูรณ์ หัวหน้ากองเวียน หลงเชื่อ จึงพากลไปตายหมดสิ้น เพราะทั้งหัวน้ำกันแล้ว ก็หาจน และหัวข้างหน้าไม่ได้ พวก ไปพิฆาตไม่อวยเชื่อคนหลอก ไม่ยอมทั้งกองน้ำ จงเดินทางข้ามทางกันโดยสวัสดี แล้ว เปรียบว่า พระองค์แสวงหาโลกอื่นโดยไม่ Bray คาม จะพลอยให้คนที่เชื่อถือพากันถึงความพินาศไป ด้วยเหมือนนายกองเวียนคณะแรก. ทีปา. (เถระ) มก. ๑๕/๑๘๘ ______________ * องค์ความ สภาพที่ไม่งาม, พิจารณาร่างกายของตนเองไว้เป็นสภาพที่ไม่งาม www.kalyanamitra.org
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More