อุบามอุ้มมาจากพระไตรปิฏก อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หน้า 222
หน้าที่ 222 / 370

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความหมายของความว่าง่ายในพระไตรปิฏก โดยยกตัวอย่างความเพียรของโยมและการรับคำสอนจากพระอุปัชฌาย์ รวมถึงการยินดีรับคำสอนจากภิกษุหรือผู้อื่น เพื่อการฝึกฝนตนเองในทางธรรม การฟังคำสอนเป็นการเติมใจและน้ำเพื่อการเจริญธรรมอย่างสูงสุด.

หัวข้อประเด็น

-ความว่าง่าย
-การฟังธรรม
-การรับคำสอน
-ความเพียร
-การศึกษาในพระไตรปิฏก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๒๒ อุบามอุ้มมาจากพระไตรปิฏก ๑. ความว่าง่าย ๑.๑ อันคนไขน้ำทั้งหลายย่อมไขน้ำ ช่างครั่งทั้งหลายย่อมตัดลูกคร ช่างตากทั้งหลายย่อมก้านไม้ ผู้สอนง่ายทั้งหลายย่อมฝึกตน. ขุ.ฐ. (อรรถ) มก. ๑๒/๑๕๐ ๑.๒ ธรรมดาโยมเติมใจเติมน้ำ ฉันใด ก็ถวายปรารภความเพียรที่ควรเติมใจฟังคำสอนของพระอุปัชฌาย์ ฉันนั้น. มิณ. ๔๓๗ ๑.๓ ธรรมดาโฉน เมื่อผู้อดกลไปย่อมทำตามที่ผู้อื่นสั่ง ฉันใด ก็ภิกษุผู้อารักความเพียร ยินดีรับคำสอนของภิกษุด้วยกัน หรือแม้เป็นอุปาทวาชาวบ้าน ฉันนั้น ข้อสมกับคำของพระสารัตถรเจ้าว่า ถึงผู้อื่นจะอยากเพียง ๗ ขวบน สอนเราก็ตาม เรายินดีรับคำสอน เราได้เห็นผู้อื่น ก็เกิดความรักความศรัทธาอย่างแรงกล้าขึ้นมาด้วยรำรัญว่าเป็นอาจารย์แล้วแสดงความเคารพอยู่เนืองๆ. มิณ. ๔๓๗
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More