อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก หน้า 262
หน้าที่ 262 / 370

สรุปเนื้อหา

เอกสารนี้นำเสนออุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎกที่ชี้ให้เห็นถึงการมีปัญญาในการละทิ้งความทุกข์และแสวงหาความสุขในชีวิต โดยผ่านตัวอย่างเช่น การเปรียบเทียบชีวิตกับรองเท้าและความสามารถในการทำให้เราห่างจากทุกข์ นอกจากนี้ยังมีการเปรียบเทียบต่าง ๆ ที่ช่วยให้เห็นภาพชัดเจนเกี่ยวกับการไม่ยึดติดในสิ่งที่นำไปสู่ความทุกข์ มีการเรียนรู้เกี่ยวกับความเชื่อมโยงระหว่างการปลดหนี้และความสุข นอกจากนี้ยังมีข้อคิดที่ว่าในโลกนี้เราสามารถออกจากทุกข์ได้ด้วยปัญญา และเน้นความสำคัญของการไม่ประมาทในชีวิต.

หัวข้อประเด็น

-อุปมาอุปไมย
-ความสุขในชีวิต
-การปลดทุกข์
-การใช้ปัญญา
-พระไตรปิฎก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

กรม อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก ที่ดีๆ มาทำรองเท้าขายได้ราคาแล้วอิ่มมีความสุข เราฉันนั้นเหมือนกัน พิจารณาด้วยปัญญาแล้วละทิ้งส่วนแบ่งามเสีย ย่อมถึงความสุข ถ้างั้นเราะนความสุขทั้งปวง ก็พึงละความทุกข์เสีย ขุ.อ. (อรรถ) มก. ๑๐/๑๔๕ ๕.๕ บุคคลมีเลาสงออกจากวัฏฏาม เหมือนไม้แห่งสนิท ไม่เปียกชุ่มด้วยเลาสงเหมือนในทีมเขาวางในขนบนกงนกงฟันกงน ม.ม. (อรรถ) มก. ๑๙/๑๓๖ ๕.๖ เราเรียบคอคนผู้ไม่มิดดอยในกงหลาย เหมือนน้ำไม่ติดอยู่ในใบวู เหมือนเมล็ดพันธุ์กาฝากไม่ตั้งอยู่บนปลายหลักแหลม ละนั้น ข.5. (พุทธ) มก. ๔๙/๔๙ ๕.๗ เมื่อภิณนันลามฉันทะได้อย่างดี ย่อมไม่กลัว ไม่จะดุ เหมือนบรรดาผู้ปลดหนี้แล้วเห็นเจ้าหนี้ทั้งหลาย ย่อมไม่กลัวไม่จะดุ ฉันใด ย่อมไม่มิคความเกี่ยวข้อง ไม่มีความผูกพันในวัฏฏูของผู้อื่น ฉันนั้นเหมือนกัน ที ส. (อรรถ) มก. ๑๑/๑๕๐ ๕.๘ พึงวันขาดความหลานหลาย ครั้งวันขาดความหลานนั้นแล้ว พึงชำโอษฐ เหมือนบุคคลวิ่งน้ำในเรือแล้วไปถึงนั่น ขุม. (พุทธ) มก. ๒๖/๒๗ ๕.๙ บุรุษผู้กำลัง ช่วยอุดมบุรพพลาสาช ผู้อยูในเป็ดดงนี้ได้ ฉันใด เธอก็ช่วยพยุงฉันให้ขึ้นจากนภได้ ด้วยคาถาอันเป็นสุภาษิต ฉันนั้นแหละ ข.ชะ (ทั่วไป) มค. ๑๑/๒๓ ๕.๑๐ ดอกบำกำบำบูร ระเกิดแต่ผูกอันๆ อันนะ และเปีอกตมไม่เข้าไปได้ ฉันใด มูผู้กล่าวความลงไม่ติดพ้น ไม่เข้าไปติดในกงและในโลกล ฉันนั้น ข.ม. (พุทธ) มก. ๔๕/๔๒๘ ๕.๑๑ พระศาสดาได้ขับไล่นางตุ่นา นางอรดี และนางราคา ผู้รู้นำคนมาก ซึ่งได้มาแล้วในนั่นให้หันไป เหมือนลมพัดบุญฉะนั้น สัง.ส. (ทั่วไป) มก. ๒๕/๔๑ ๕.๑๒ ในโลกนี้มักจะออกไปจากทุกข์ได้ เราชัดดีแล้วด้วยปัญญา ดูก่อน มารผู้บำบังซึ่งเป็นเผ่าพันธุรงผู้ประมาท ท่านไม่รู้จักษุทธนั้น กามทั้งหลายเปรียบด้วยเทวา และทวาร กงกา ทั่งหลายนัน ประหนึ่งว่ามีรี้ยม เราไม่ใด้ดีจึงถึงความยินดีในกามที่ท่านกล่าวนั้น สัง.ส. (เกรี) มก. ๒๕/๓ www.kalyanamitra.org
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More