ข้อความต้นฉบับในหน้า
๑๒๘
อุปมาอุปไมยจากพระไตรปิฎก
๓.๖ อันคาพาลทำกรรมทั้งหลายอันลามกย่อมไม่รู้สึก บุคคลผู้มีปัญญากรรม ย่อมเดือดร้อน ดุกลไฟไหม้ เพราะกรรมของตนเอง
ขุ. (พุทธ) มก. ๒/๒๗
๓.๗ บุคคลไม่ควรดูหมิ่นบ้างว่า บาปมีประมาณน้อยอาจไม่มาถึง แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยหยาดน้ำที่ตกลง จะละหยาดๆ ได้ ฉันใด ชนพาลเมื่อส่งสมบาปแม้สักน้อย ย่อมเต็มด้วยบาปได้ฉันนั้น
ขุ. (พุทธ) มก. ๒/๒๕
๓.๘ กรรมที่บุตรบุคคลได้ ไม่พิจารณาให้ดีว่า ล่วงล่วงเสียก่อน แล้วทำลายผลจะร้ยย่อมมีแกบุคคลนั้น เหมือนความวิบัติเย้ยะแกโรค ฉะนั้น
ขุ.ช่า. (โภชี) มก. ๖/๑/๑๕
๓.๙ บุคคลก็อย่า ว่า หากว่าท่านจักระทำกรรมชั่วนั้น ท่านจักได้รับความเดือดเดือนในบริษัท วิญญูนั้นหลายลักษณนั่น เหมือนชาวเมืองรัฐของสกปรก
ขุ.อิต. (อรรถ) มก. ๕/๒๙๓
๓.๑๐ บุคคลทำอุปการกรรมบง ๑๐ เมื่อตายไปย่อมเข้าถึงอบาย ทุกข์ วิบาก นรก บุคคลที่ยังอยู่จะสวรรเสรีภูวนอ ก็ไม่สามารถทำให้ผู้ล่วงลับที่ไปบายแล้ว กลับไปสู่ความสุขได้ เหมือนโยนก้อนหินลงในบ่อ แล้วสวรรเววนให้ก้อนหินลอยขึ้นมา ก่อนที่นิไม่สามารถลอยขึ้นมาได้
ส่งสถท. (พุทธ) มก. ๒๙/๑๘๙
๓.๑๑ พระเจ้ามิ่งดัสสามพระนาคเสนว่า กุศลกรรม และอุปลกรรมที่บุคคลทำด้วยรูปนามนี้อยู่ไหน
พระนาคเสนตอบว่า ติดตัวไปเหมือนงาตตังต้า แล้วพูดว่า ต้นไม้ยังไม่มีผลไม่อาจซีไว่ผลน้อยอยู่ไหน ดังนั้น เมื่อการสิ่งต่อมิซาด ก็ไม่อาจซีังลงไปได้ว่ากรรมเหล่านี้อยู่ที่ไหน
มิลิน. ๑๒๒
๓.๑๒ บุคคลประทุร้ายแก่รชนไม่ประทุร้าย เป็นผู้บริสุทธิ์ปราศจากกิเลส บาปอ้อม กลับมาถึงบุคคลนั้นผู้นี้เป็นพล ประจุฑีอรินคาม
สัง.ส. (พุทธ) มก. ๒๔/๑๒๖
๓.๑๓ พระเจ้ามิลินทร์สาทพระนาคเสน เรื่องการทำบาปของผู้คำ้บอผู้อื่น ใครจะได้บาปมากกว่ากัน