ปัญญามนต์ปลาทากาก: อรรถกถาพระวินัย ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา หน้า 35
หน้าที่ 35 / 288

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้วิเคราะห์และประมวลคำถามที่เกี่ยวข้องกับความวิบัติต่าง ๆ ในพระวินัย และแนวทางในการระงับปัญหาเกี่ยวกับวิวาทและอนุวาท โดยยกตัวอย่างคำถามที่ยังมีความหมายลึกซึ้งจากตำรา. คำและแนวคิดเช่น อาบัติ, สมุทฐาน, และธรรมะที่เกื้อหนุนการดำรงอยู่ในสังคมถูกนำเสนออย่างชัดเจน เนื้อหาจะทำให้ผู้อ่านได้รับมุมมองใหม่เกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน และการตอบสนองต่อความขัดแย้ง.

หัวข้อประเด็น

- ความวิบัติในพระวินัย
- พระธรรมและการระงับอธิรณี
- แนวทางในการเข้าใจวิวาท
- การตีความอาบัติ
- การสนทนาทางธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปัญญามนต์ปลาทากาก อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วันฉนา - หนี้ที่ 749 ก็เพราะอาบิตาหล่านี้ ที่จวาดไม่ถึงความวิบัติเยอใม้ ฉะนั้น คำว่า กิติ วิปุตฺติโย นี้ จึงเป็นคำถามถึงความวิบัติแห่งอาบิติต ทั้งหลาย คำว่า คติ อปลุตถสมุทโย นี้ เป็นคำถามถึงสมุทฐาน แห่งอาบิติลานนี้เอง. คำว่า วิวาทมูลานิ อนุวาทมูลานิ เหล่านี้ เป็นคำถามถึง มูลแห่งวิวาทและอนุวาทที่มา "วิวาทภิรณ์ อนุวาทภิรณ์." คำว่า สารณียา ธมมานี้ เป็นคำถามถึงธรรมที่ทำความ ไม่มีแห่งมูลของวิวาทและอนุวาท. คำว่า เทกกรถกุณฺญู นี้ เป็นคำถามถึงวิถูที่ก่อความแตก ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในคำว่า "อธิรณเป็นไปเพื่อแตกกันก็ได้" เป็นอทิ. " คำว่า อธิรณานี้ นี้ เป็นคำถามถึงธรรมที่เกิดขึ้น ในเมื่อ มีปกาญจิต คำว่า สมาท นี้ [๔๔๒] เป็นคำถามถึงธรรมมิ่สำหรับระงับ อธิรณีเหล่านี้แหละ. คำว่า ปญฺญู อปลุตถิโย ตรัสด้วยอำนาจอาบัติซึ่งมาใน มติภาค. คำว่า สตฺต คำสัตว์อานาจอาบัติซึ่งมาในวิภังคฎ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More