สมุฏฐานและกรรมในพระวินัย ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา หน้า 151
หน้าที่ 151 / 288

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจเรื่องสมุฏฐานแห่งสมณะในพระวินัย โดยมีการอธิบายถึงสมุฏฐานจำนวน ๓๖ และการกระทำต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรรม ข้อความยังชี้ให้เห็นถึงการหยุดและการเชิญชวนให้กระทำกรรมด้วยตนเอง รวมถึงการบริหารกรรมที่ต้องทำแทนด้วย ส่วนนี้จะช่วยให้เห็นความสำคัญของสมุฏฐานในบริบทของพระวินัยและการสร้างกรรมที่ดีในชีวิต สามารถติดตามอ่านเพิ่มเติมที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-สมุฏฐานแห่งสมณะ
-กรรมและการกระทำ
-อุปนิษฐีในพระพุทธศาสนา
-ความสำคัญของวินัย
-การเชิญชวนในการทำกรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปัญญา สมุนไพรอาณาจักร อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วันฉนา - หน้าที่ 865 [ว่าด้วยสมุฏฐานแห่งสมณะ] คำแก้คำถามถึงมูล ตื่นทั้งนั้น. ในคำถามถึงสมุฏฐาน ท่านกล่าวว่า "สมะทั้ง ๓ มีสมุฏฐาน ๓๖ อะไรบ้าง ?" ดังนั้น แม้โดยแท้ ถึงกระนั้น ท่านก็แน่น สมุฏฐาน ๖ แห่งสมณะ เพราะสมุฏฐานวินัยไม่มีสมุฏฐาน เพราะไม่มีกรรมสงเคราะห์. บรรดาบทเหล่านั้น ถูกตีพิมพ์ทราบว่า "กรรมวิริยะ." การหยุดในเวลาควรหยุด. ด้วยฤทธิ์นั้นและ พึงทราบว่า "กรณะ." การเข้าไปเอง อธิบายว่า "ความกระทำกรรมมันด้วยตนเอง พึงทราบว่า "อุปปุปมะ." การที่ถึงความอุปนิษฐี อธิบายว่า "การเชิญอู๋อันมีสิทธิ- วิวิธารเป็นต้นว่า "ท่านจงทำกรรมนี้" พึงทราบว่า "อุปปุปมะนะ." กิริยาที่ยึดออม อธิบายว่า "ได้แก่ การมอบฉันอย่างนี้ว่า "สงฆ์จงทำกรรมมันแทนข้าเจ้า" เรียกว่าธิฏฐานสน. กิริยาที่ไม่ได้คั่นว่า "กรรมนี้ไม่อยากให้เจ้ามีจง พวกท่าน อย่าทำอย่างนั้น" เรียกว่า อปปุฏโธสน. พึงทราบสมุฏฐาน ๓๖ ด้วยอำนาจหมวดหก หมวด ด้วย ประกาศนะนี้. คำแก้คำถามเกี่ยวรรต่างกัน ตื่นทั้งนั้น.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More