ปัญญอมสมุนไพรปลากาก: อรรถกถาพระวินัย ปริวาร ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา หน้า 261
หน้าที่ 261 / 288

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงอรรถกถาของพระวินัยที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตนของภิกษุ โดยเน้นการคลี่คลายความหมายของพรหมทันต์ และการสร้างความเข้าใจในคำพูดที่มีผลกระทบต่อสงฆ์อย่างมาก มุ่งประเด็นไปที่การยกระดับจิตใจของภิกษุให้ฝึกฝนตัวเองในการพูดดีและประพฤติชอบเพื่อความสงบสุขในชีวิตร่วมกันในสงฆ์ อ้างอิงถึงเหตุการณ์และการสนทนาภายในสงฆ์เกี่ยวกับการทำความดีและการระมัดระวังตัว รวมไปถึงการตั้งมั่นในสังวาสอย่างมีศีลมีธรรม.

หัวข้อประเด็น

-พระวินัย
-ภิกษุ
-คำพูด
-การสื่อสารในสงฆ์
-การประพฤติปฏิบัติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปัญญอมสมุนไพรปลากาก อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วันนา - หน้า ที่ 974 เสียดสี คำ ข่มภูมิทัพหลาย ด้วยถ้อยคำหยาบคายอยู่, สงฆ์พึงลง พรหมทันทีแต่ภูมิทัพนั้น. ก็แปลพระนทีนั้น พิงลงอย่างนี้ :- ภิกษุผู้อถลาด พิงสวดประกาศโดยอนุมัติของสงฆ์ ในท่ามกลาง สงว่า "ท่านผู้เจริญ ภิกษุชื่อ มีปากร้าย เสียดสีภิกษุหลาย ด้วยถ้อยคำที่หยาบคายอยู่, ภิกษุนี้ พิงกล่าวคำที่ตนปรารถนา กล่าว, ภิกษุชื่อ นี้ คับภิกษุทั้งหลาย ไม่พึงกล่าวว่า ไม่พึงเตือน ไม่พึงสร้างอสุข, ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าถามสงว่า "กราลพระหม- ทันต์แก่ภิกษุชื่อ นี้ ชอบใจสงฆ์หรือ ? ข้าพเจ้าอาจเป็นครั้งที่ ๒ ๙ ๑ ข้าพเจ้าอาจเป็นครั้งที่ ๓ ว่า "กราลพระหมทันต์แก่ภิกษุชื่อ ชอบใจ สงฆ์หรือ ? ท่านผู้เจริญ." พรหมทันต์สันสนสงฆ์จะจงอภิวาทแก่ภิกษุนนั้น ผู้ประพฤติชอบแล้ว ขอโทษอยู่โดยสุ่มอื่น. [๒๐๑] ก็แสดงมีสีระงำอย่างนี้ :- ภิกษุผู้อถลาด พิงสวดประกาศในท่ามกลางสงว่า "ท่านผู้ เจริญ ภิกษุสงิุได้ลงพรหมทันต์ แก่ภิกษุโน่น, ภิกษุนั้น เสี่ยง แล้ว ประพฤติเจียมตัว หันเข้าลังดีธรรมแล้ว ตั้งมั่นในธรรม โยดับปล่อย แล้ว พิจารณาแล้ว ตั้งอยู่ในสังวาสต่อไป, ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าอาจถามสงว่า "กรารับพรหมทันต์แก่ภิกษุนี้ ชอบใจสงฆ์ หรือ ?". พึงกล่าวอย่างนี้ เพียงครั้งที่ ๓ ระดับพรหมทันต์เสีย ด้วย อปโกลนกรรมแแล้ว.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More