ความหมายของเมตตากรรมในพระพุทธศาสนา ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา หน้า 41
หน้าที่ 41 / 288

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับเมตตากรรมในพระพุทธศาสนา โดยชี้ให้เห็นว่าการกระทำที่มีเมตตาจะทำให้บุคคลเป็นที่รักของผู้คนและส่งเสริมความสามัคคีระหว่างกันในสังคม เมตตากรรมไม่เพียงแต่คือการแสดงออกของความรัก แต่ยังเป็นการสร้างสภาพแวดล้อมที่ปราศจากการวิวาทด้วย ดังนั้น การดำรงอยู่ในสังคมควรจะใช้หลักเมตตากรรมเพื่อสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของเมตตากรรม
-คุณธรรมในพระพุทธศาสนา
-บทบาทของสัตบุรุษ
-สังคมและความสามัคคี
-การดำรงชีวิตที่มีเมตตา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปัญญอมตปลาฯา อรรถกถพระวีน virtues วัดนา - หน้าที่ 755 กายกรรมนัน่ ธรรมคือเมตตากรรมนัน่ เป็นธรรมอันบุคคล นันทำแล้วแก่นคนได , ชนเหล่านั้นมิจติต่อเสรีแล้ว ย่อมระลึก ถึงบุคคลนันว่า "ผู้นี้เป็นสัตบุรุษจริง" บทว่า ปยโณ มีความว่า ธรรมคือเมตตากรรมนัน่ ย่อมทำบุคคลนัน ให้เป็นที่รักของเพื่อนพรหมกรรมทั้งหลาย บทว่า ครุโณ มีความว่า ธรรมนัน่ ย่อมทำบุคคลนัน ให้ เป็นที่สาธารพอของพระพรหมกรรมทั้งหลาย วินิจฉัยในคำว่า สุค pace, เป็นต้น พึงทราบดังนี้ : - ธรรมนัน่ ย่อมเป็นไปเมื่อความเป็นผู้อื่นเพื่อนพรหมกรรม ทั้งหลายพึงสงเคราะห์ เพื่อความไม่วิวาท เพื่อความเป็นผู้อื่นเพียง เพื่อความเป็นพวกเดียวกัน กับเพื่อนพรหมกรรมทั้งนั้น วินิจฉัยในคำว่า เมตต วจีม์ เป็นต้น พึงทราบดังนี้ : การกล่าวย่ออย่างนี้ว่า "ท่านเทวะแธ ท่านติสสเตระ :" ชื่อเมตตา จิตฤทธิ์กร ค่อนหน้า ส่วนการกล่าวอธิบ่ายคำว่าความรัก ของ บุคคลผู้สอบถามถึงท่าน ในเมื่อท่านไม่อยู่ในสำนัก อย่างนี้ว่า "ท่าน เทวะแคระของพวกเรา ไปไหน ? ท่านติสสเตระของพวกเรา ไปไหน ? เมื่อไหรหนอ ท่านจับมา ?" ดังนี้ ชื่อเมตตาจิจกลกรรม ลับหลัง [๔๔๕] ก็แกลารลืมตานั่งนิทานด้วยความรัก กล่าวคือเมตตา แลดูด้วยหน้าตาอันชื่นบาน ชื่อเมตตามโนธรรม ต่อหน้า การคำนึงถึง เสมอว่า "ท่านเทวะแระ ท่านติสสเตระ จงเป็นผู้ไม่มีโรค มีอาพร
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More