ปัญจมณีตรกขากา: เรื่องราวเกี่ยวกับอามิสและการศึกษาในพระวินัย ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา หน้า 162
หน้าที่ 162 / 288

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทความนี้อภิปรายเกี่ยวกับความสำคัญของการไม่อิงอามิสและบุคคลในการศึกษา มีการยกตัวอย่างว่า การถือเทิดอามิสหรือติดอยู่กับอาจารย์อาจทำให้เกิดปัญหาต่อการศึกษา แสดงให้เห็นถึงความสำคัญในการดำเนินชีวิตตามธรรมชาติและไม่พึ่งพาคนหรือสิ่งของอื่น นอกจากนี้ยังอธิบายถึงอุปมาที่ใช้ในการสื่อสารและความไม่ควรในคำพูด เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในการปฏิบัติธรรม.

หัวข้อประเด็น

- การไม่อิงอามิส
- ความสำคัญของการศึกษา
- ปัญญาทราม
- การปฏิบัติตามธรรม
- อุปมาสำหรับการสื่อสาร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปัญจมณีตรกขากา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัดเขษา - หน้าที่ 875 คารว มีความว่า ผู้ตีบนอั้งขลแล้ว มีอินทรีย์อันตบจแล้วนั้น ชื่อว่ามีปัญญาทราม เพราะไม่มีปัญญา และชื่อว่าไม่มีความเคารพ ในการศึกษา เพราะไม่มีศึกษาในศักค ๓ เพราะแตกแห่งกาย ย่อม เข้าถึงรก. เพราะเหตุนี้ ท่านจึงกล่าวว่า “ไม่ควรอิงอามิส (และไม่ ควรอิงบุคคล พึงว่าส่วนทั้ง ๒ นั้นเสีย) กระทำตามธรรม. [๕๔๖] เนื่องความแห่งคำบั่นว่า ไม่พึงอิงอามิส, จริงอยู่ เมื่อถือเอาอามิสวิธิวา เป็นดังเงา ที่โจกหรืออ่างเลยฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่งให้ ชื่อว่ากระทำเพราะอามิส; ไม่พึงกระทำอย่างนั้น. หลายบทว่า น จ นิสินาย ปุคคล์ มีความว่า เมื่ออำเอิง เพราะความรักเป็นต้น โดยเนียรอ้างว่า “ผู้นี้ เป็นอุปามของเรา หรือว่า ผู้นี้ เป็นอาจารย์ของเรา” ชื่อว่ากระทำเพราะอิงบุคคล ไม่พึงกระทำอย่างนั้น ทางที่ถูก พึงเว้นส่วนทั้ง ๒ นั้นเสีย กระทำ ตามที่เป็นธรรมเท่านั้น. บทความว่า อุปนายก สชฺบดี มีความว่า กระชนที่ใกล้สู้ ว่าที่นางพูดอย่างนี้ อย่าพูดอย่างนี้.” สองบทว่า ชิมดู เปนูกติ มีความว่า ย่อมเสาะโทษเท่านั้น. บทว่า วีรหติ ได้แก่ งการวิจฉัยให้กพร่อง. สองบทว่า ฎุมงคู ปฏิสฺสติ มีความว่า ย่อมขึ้นอาบัติ. สองบทว่า อาทลน จ โชตน์ มีความว่า ผู้อนพระเถระ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More