การวิเคราะห์พระวินัยและกรรม ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา หน้า 177
หน้าที่ 177 / 288

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้กล่าวถึงพระวินัยและสิกขาบท ที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติในชุมชน โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่อาจนำไปสู่การแตกออกเป็นสองฝ่ายในกลุ่มผู้ปฏิบัติ เหตุการณ์เช่นนี้เป็นสัญญาณบ่งชี้ถึงความแตกแยกที่อาจเกิดขึ้นในหมู่พุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะในด้านการปฏิบัติธรรมของภิกขุและผู้ที่เกี่ยวข้อง เนื้อหายังกล่าวถึงกรรมที่เกี่ยวข้องและบทบาทของเทวดาในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์พระวินัย
-สิกขาบทและผลกระทบ
-ภิกขุและการปฏิบัติ
-การแตกกลุ่มในชุมชน
-เทวดาและมนุษย์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปัญญามีตปลามาก อรรถถภาพพระวินัย ปิราว วัดนา - หน้าที่ 890 ท่านกล่าวว่า อุณฺมุนูปมาทน (ยังการขอให้เกิดตามขึ้น.) ๓ สิกขาบทมีกายสังกัดสิกขาบทเป็นคำ ท่านกล่าวตามรูปเดิมนั้นเอง. ๕ สิกขาบทนี้ พิธีรับว่า “เป็นบุพพกวาศ คือ บุพพประโยชน์ของเมถุนธรรม” ด้วยประกาศนี้. อปโลกนกรรม ๔ นั้น ได้แก่ กรรมเป็นวรรคโดยอรรถเป็นต้น. แม้ในกรรมที่เหลือ ก็เป็นนี้แผล. หมวด ๔ สังมวด จิรวามเป็น ๖ ด้วยประกาศนี้. หลายบทร พุทธะอดิตย์ตาย ปฏิปุโณ โธ มีความว่า จริงอยู่ [๑๓๕] เมื่ออิริยบินอพระวินัย ธินฉัยด้วยขันติก อย่างนั้น สงงในวัดนั้นย่อมแตกกันเป็น ๒ ฝ่าย. แมภุฒินี้ทั้งหลาย ผู้ภาสิอวาทเป็นอยู่ ก็อาจเป็น ๒ ฝ่าย. พวกอญาสิกก็ อุบลภิภหา ก็ดิ เด็กชายก็ดิ เด็กหญิงก็อ่อนเป็น ๒ ฝ่าย, แม้เหล่ารักนเทวคา ของชนนลั้น ก็อ่อนแตกกันเป็น ๒ ฝ่ายเหมือนกัน. ต่อแต่นั้น เทวตาทั้งหลาย นับภูมเทวาดาเป็นต้น จนถึงอนุญุตพรม ย่อมแตก เป็น ๒ ฝ่ายด้วย. ด้วยเหตุนี้ ท่านจึงกล่าวว่า “ภิกขุผู้อยู่เฉยด้วยขันติก เป็นต้น ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติ เพื่อไม่เกี่ยวกุศลอันมาก ๆ ๆ ๆ เป็น ผู้ปฏิบัติ เพื่อไม่เป็นประโยชน์ เพื่อไม่เกี่ยวดู เพื่อทุก ๆ คนเป็น อำนาญ ทั้งเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More