ความแตกต่างแห่งกรรม ๔ ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา หน้า 244
หน้าที่ 244 / 288

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับความแตกต่างของกรรม ๔ อย่างในคัมภีร์วัดจ์ โดยมีการนำเสนอความหมายและประเภทของกรรมที่ต้องส่งผล และการอนุญาตของสงฆ์ที่มีความสำคัญในการปฏิบัติกรรมที่ถูกต้อง ประกอบด้วย บโลกนกรรม, กิจกรรม, และกิจกิจกรรม ซึ่งชี้ให้เห็นการปฏิบัติที่ถูกต้องตามหลักของพระพุทธศาสนา สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-กรรมที่ต้องส่งผล
-บโลกนกรรม
-กิจกรรม
-กิจกิจกรรม
-การอนุญาตของสงฆ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปัญจมนตลปลากา อรณวกพระวันต์ ปริวรรณ์ วันena - หน้าที่ 957 [๒๐๙] ปัญจวิค วินินนา วิบินฉันในคัมภีร์วัดจ์ พึงทราบดังนี้ :- ความแตกต่างกันแห่งกรรม ๔ อย่าง ข้าพเจ้าได้กล่าวแล้วดังใน สมบันทะเระ แม้ได้กล่าวแล้วก็จริง ถึงกระนั้น กรรมวิบัติวันนี้ เมื่อได้กล่าวมาดั้งแต่เดิม ยอมเป็นวิบัติที่ชัดเจน เพราะฉนั้น ข้าพเจ้าน่ากล่าวข้อที่ควรรู้ว่า ในกรรมวัดนี้ จำเดิมแต่ตอนนั้นเดียว คำว่า ตุตตะร นี้ เป็นคำบอกกำหนดจำนวนแห่งกรรมทั้งหลาย คำว่า กมุโณ นี้ เป็นคำธรรมกิที่กำหนดไว้แล้ว [ความแตกต่างแห่งกรรม ๔] กรรมที่ต้องส่งผลมีตั้งอยู่ในสมุทจะหมดจด นำเนาะของภิษุ ผู้ควรฉันทะมา สวดประกาศ ๓ ครั้ง ทำตามอนุมัติของสงฆ์พร้อม เพรียง ชื่อว่า บโลกนกรรม กรรมที่ต้องทำด้วยอนุญาตอย่างเดียว ตามอนุมัติของสงฆ์ผู้พร้อม เพรียง ตามนิยที่กล่าวแล้วนั้นแล้วชื่อว่ากิจกรรม กรรมที่ต้องทำด้วยอุปาสนาวน มีอนุญาตเป็นที่ ๒ อย่างนี้ คือ อุปติ ๑ อนุสาวน ๑ ตามอนุมัติของสงฆ์ผู้พร้อมเพรียง โดยอันที่กล่าว แล้วนั้นแล้ว ชื่อว่ากิจกิจกรรม กรรมที่ต้องทำด้วยอุปาสนาวน ๓ มีกิจติเป็นที่ ๔ อย่างนี้ คือ อุฏติ ๑ อนุสวา ๑ ตามอนุมัติของสงฆ์ผู้พร้อมเพรียง โดยอันที่กล่าว แล้วนั้นแล้ว ชื่อว่ากิจกิจกรรม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More