การบำรุงสวนของสงม ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา หน้า 272
หน้าที่ 272 / 288

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาอภิปรายถึงการบำรุงสวนผลไม้ในบริบทของพระวินัย โดยมุ่งเน้นไปที่บทบาทของกิฏฐนัน ที่มีหน้าที่ในการดูแลสวน ทั้งนี้จะมีการกล่าวถึงการแบ่งปันผลประโยชน์และข้อกำหนดในการบำรุงสวนตามหลักการที่ไม่ขัดต่อพระวินัย โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการให้และการรับผลประโยชน์จากสวนที่บำรุง นี้เนื้อหาแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจและวิธีการในการปฏิบัติหน้าที่ในกรอบของพระธรรมที่วางไว้ในสำนักสงฆ์ที่อยู่ในเชียงใหม่.

หัวข้อประเด็น

-การบำรุงสวน
-บทบาทของกิฏฐนัน
-พระวินัย
-การแบ่งปันผลประโยชน์
-การดูแลสวนในศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปัญญอัมสมันดปลาทากา อรรถถกรพระวินัย ปริวาร วันฉนา - หน้าที่ 985 เป็นคราว ๆ กิฏฐนัน เมื่อไม่หวังตอบแทนแล้ว ก็เห็นให้ เมื่อเขา เก็บเอาโดยผลการ ก็ไม่พึงห้าม เหตุในข้อที่ไม่ควรห้ามนี้ ข้าพเจ้า ได้กล่าวไว้แล้วในหนหลังม. สวนผลไม้ของสงมี แต่ไม่ได้รับการบำรุง หากว่า กิฏฐนัน บางรูปบำรุงสวนนัน ด้วยมุ่งวัตถเป็นใหญ่ สวนนันงลงเป็นของ สงม. แม้ว่า สงสมอให้เป็นภาระของกิฏฐนันมารบงวามภาพว่า "สัตบรุษ ท่านจงช่วยบำรุงสวนนี้ให้เกิด" หากกิฏฐนันบำรุงด้วย มุ่งวัตร์ แม้อย่างนี้ ก็ยังเป็นของสงม. แต่สงสมให้ส่วนเพิ่มเพียง เสื้อที่ 3 หรือกึ่งส่วน แก้กิฏฐนันผู้หวังส่วนเพิ่มเติม. ก็แต่เมื่อเธอกล่าวว่า "เป็นกรรมหนัก" แล้วไม่ปรารถนา ด้วยส่วนเพิ่มเพียงเท่านั้น กิฏฐนันหลายพึงกล่าวบังว่า "ท่านจงทำ ผลไม้ทั้งหมดให้เป็นของท่านคนเดียว จงให้ส่วนนี้ 10 เป็นส่วน มูลค่า แล้วบำรุงเผ็ด" แต่ไม่ยังให้ด้วยอำนาจขอคูลค่า เพราะ สวนนันเป็นครุภัณฑ์. กิฏฐนันให้ส่วนแห่งมูลค่าแล้วฉันนั้น ให้สร้างเสนาสะที่อยู่ซึ่ง ยังไม่ได้สร้างบ้าง ทำบำรุงเสนาสะที่เขาสร้างไว้แล้วบ้าง แล้ว มอบสวนแก่พาณิสรต ดัไหมพวกนิสเตน ก็พึงให้ส่วนแห่งมูลค่า. กิฏฐนันทั้งหลายสามารถจะบำรุงเองในกาลใด ในกาลนัน สงม ไม่พึงให้กิฏฐนันบำรุง ไม่พึงห้าม ในกาลที่ผลไม้ อันพวกเธอได้ บำรุงแล้ว ก็พึงในเวลาที่จะบำรุงเท่านั้น พึงกล่าวว่า "พวก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More