ความเกี่ยวข้องของปุพพกุนธ์และประโยชน์ตามพระธรรม ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา หน้า 181
หน้าที่ 181 / 288

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้ว่าด้วยความเป็นปัจจัยที่สำคัญของปุพพกุนธ์ในพระธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบทบาทที่ปุพพกุนธ์ทำหน้าที่เป็นปัจจัตติปัจจัย และความเกี่ยวข้องระหว่างปุพพกุนธ์กับประโยค ซึ่งมีความสำคัญในการทำความเข้าใจธรรมนั้นว่าเป็นการทำเพื่อประโยชน์ในทางปฏิบัติที่สอดคล้องกับคำสอนของพระผู้มีพระภาค.

หัวข้อประเด็น

-ปุพพกุนธ์
-ประโยชน์
-พระธรรม
-วิสาขะ
-การใช้ประโยชน์ในชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปัญจสมิธปลากาก อรรถถะพระวันวิ ปริวาร วันอาทิตย์ - หมื่นที่ 894 ความเป็นปัจจัยแห่งประโยชน์เป็นต้นนั้นแสน แล้วจึงรศักดิ์วิสาขะ โดย นิยมคำว่า ปุพพกุนธ์ ปฏิฤส เป็นต้น. เมื่อความแห่งวิสาขะ พึงทราบดังนี้ :- ข้าพเจ้าจะกล่าวเฉลยในคำที่พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ปัญจสูต กถม ธมมะ เป็นต้น, ปุพพกุนธ์เป็นปัจจัย โดยอธิษฐานปัจจัยแห่ง ประโยชน์ เป็นปัจจัยโดยสมาธิปัจจัย นิสาสิปัจจัย และอุปนิสาส- ปัจจัยแห่งประโยค. จริงอยู่ ปุพพกุนธ์แม้ทั้ง ๗ อย่าง ย่อมเป็นปัจจัยโดยปัจจัย ๔ เหล่านี้แห่งประโยชน์ เพราะเหตุที่ประโยชน้นั้น อนฺทิกฺยอมกะทำเพื่อ ประโยชน์แห่งปุพพกุนธ์ อันตนพึงให้สำเร็จด้วยประโยคนัน, แต่ ประโยชน์นั้น ย่อมไม่ได้แสวงธรรมอันหนึ่ง ในธรรมทั้งหลายที่ได้ อทเทสแล้ว ในความเป็นปัจจัยของปัจจัย. ประโยคนัน ชื่อว่าเป็น ปัจจัตติปัจจัยเองแห่งปุพพกุนธ์โดยแท้ เพราะเมื่อประโยคมี ปุพพ- กรณีจึงสำเร็จ. ด้วยเหตุนัน พระผู้พระภาคเจ้าตรัสว่า "ประโยค เป็นปัจจัตติปัจจัยเองแห่งปุพพกุนธ์" โดยเป็นปัจจเหตุปัจจัย." อันยัง ประโยคย่อไม่ได้จากชาติปัจจัย ด้วยเหตุนัน พระผู้- พระภาคจิงตรัสว่า "บุพพกุนธ์เป็นปัจจัยแห่งประโยค โดยเป็น ปัจจชาตปัจจัย." จริงอยู่ ประโยคนัน อันภิญญายุยงทำ เพื่อประ- โยชน์แห่งปุพพกุนธ์ซึ่งเกิดภายหลัง แต่วันธรรม ๕๕ กล่าวคือ มาติกาปโหคและอนิสงส์สีแล้ว ในบรรดาธรรมปัจจัยเป็นอทิ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More