ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ปัญญามีแต่นิทานอรรถกถา พระวินัย ปริวาร วันนิดา 849
ก็ปิจิตจะใด ย่อมฮังจิตให้ตกไป, ก็จิตจะนั่น ย่อมผิด
ต่ออธิรรรม และย่อมเป็นเหตุแห่งความลุ่มหลงแห่งจิต. เพราะ-
เหตุนัน คำว่า "ผิดต่ออธิรรรม" และคำว่า "เป็นเหตุแห่งความ
ลุ่มหลงแห่งจิต" ท่านจึงกล่าวแล้ว.
[วิเคราะห์ปฏิทินนิยะ]
ในปฏิทินนิยามกล่าวหลาย คำว่า "ภิกษุเป็นผู้ไม่มีอฏิ"
เป็นอาทิ ท่านกล่าวแล้ว เพื่อแสดงความกระทำความเป็นธรรมที่
น่าดี ซึ่งพระผู้พระภาคตรัสว่า "แนะเธอ ฉันต้องธรรมที่น่าใจ"
ก่ออับตันั้น ท่านเรียกว่า ปาฏิทินนิยะ เพราะจะต้องแสดงคืน.
[วิเคราะห์ทุกกฎ]
เนื้อความแห่งทุกกฎอาคา พึงทราบดังนี้ :-
คำว่า "ผิด แจ้ง พลาด" นี้ทั้งหมด เป็นคำอัฐิราก ทุกกฎ
ที่กล่าวไว้ในคำนิว่า ยถูจ ทุกกฎ.
[๕๕๑] จริงอยู่ กรรมใด อันบุคคลมาไม่ดี หรือทำผิดรูป
กรรมนัน ชื่อว่ากกุ, ทุกกฎนั้นแล ชื่อว่าผิด เพราะเหตุนี้ไม่ทำ
ตามประการที่พระศาสดตรัส ชื่อว่าผิด เพราะเป็นไปแง่คุสล
ชื่อว่าผิด เพราะไม่อย่างนี้สู้ปอปฏิในอธิรรรม.
ส่วนคำว่า ย มนุสโล กรณี แสดงข้อความควรเปรียบในทุกกฎนี้.
เนื้อความแห่งคำนันว่า "มนุษย์ในโลก ทำบาปใจ ในที่แจ้ง
หรือในที่ลับ, บั่นติดทั้งหลายประกาศบันนัว "ทุกกฎ" ฉันใด,