ปัญญาและมนต์ปลากากะ ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา หน้า 146
หน้าที่ 146 / 288

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการวิเคราะห์วิธีการในการเข้าใจพระวินัย โดยเน้นไปที่นิยามและลักษณะของอธิกรณ์และวิวาทภิฏฺฐ์ มีการกล่าวถึงเหตุและผลที่ทำให้เกิดอธิกรณ์ต่างๆ พร้อมทั้งการวิเคราะห์เชิงลึกเพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนขึ้น เรียบเรียงคล้ายกับนิทานเพื่อความเข้าใจง่ายแก่ผู้อ่าน รวมถึงการนำเสนอเป้าหมายหลักที่ชัดเจน เช่น วิธีการวิเคราะห์อธิกรณ์และวิวาทที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันและสังคม.

หัวข้อประเด็น

-นิยามของอธิกรณ์
-วิวาทภิฏฺฐ์
-การวิเคราะห์ทางพระวินัย
-การโจมตีและผลกระทบ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปัญญาและมนต์ปลากากะ อรรถถกพระวินัย ปิวราว วันนที - หน้าที่ 860 ว่า "ผู้มอบฉันทะ ซื้อ ต้องอุกโภญาณปาจิตตีย์" จงไปสวดมนต์ เสย." [ว่าด้วยนิทานเป็นต้นแห่งอธิกรณ์] [๕๔๗] วินฉันในคำว่า วิวาทภิฏฺฐ์ ก็ทำนั้นเป็นอทิ พิงทราบดังนี้:- ชื่อว่ามีอะไรเป็นนิยาม เพราะอธรว่า "อะไรเป็นเหตุอำนวย แห่งอธิกรณ์นั้น." ชื่อว่ามีอะไรเป็นสมุทัย เพราะอธรว่า "อะไรเป็นเหตุเป็น แคนเกิดพร้อมแห่งอธิกรณ์นั้น." ชื่อว่ามีอะไรเป็นชาติ เพราะอธรว่า "อะไรเป็นกำเนิดแห่ง อธิกรณ์นั้น." ชื่อว่ามีอะไรเป็นฐาน เพราะอธรว่า "อะไรเป็นเนติ อะไรเป็นเกิดแห่งอธิกรณ์นั้น." บทหล่านี้ทั้งหมด เป็นไวพจน์แห่งตนเอง. วิจัยฉันแน่ในคำว่า วิวาทภิฏฺฐ์ เป็นอาทิ พิงทราบดังนี้:- ชื่อว่ามีวิตเป็นนิยาม เพราะอธรว่า "วิวาทกล่าวคือเรื่อง ก่อความแตกกัน ๑๙ ประการ เป็นเหตุอำนวยแห่งวิวาทภิฏฺฐ์นั้น." คำว่า วิวาทภิฏฺฐ์ นั้น ท่านกล่าวด้วยอำนาจวิวาทซึ่งอาคย์ การเกียงกันเกิดขึ้น. ชื่อว่ามีอานุภาพเป็นนิยาม เพราะอธรว่า การโจมตีเป็นเหตุ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More