ปัญญามีตนปลาทากา ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา หน้า 198
หน้าที่ 198 / 288

สรุปเนื้อหา

บทความสำรวจแนวคิดเกี่ยวกับปัญญาที่มีอยู่ในธรรมวินัย โดยใช้คำสอนจากพระพุทธเจ้าเกี่ยวกับองค์ประกอบของความรู้และปัญญาที่เป็นบรรลุญาณแตกฉาน นอกจากนี้ยังพูดถึงความสำคัญของการใช้สติในกระบวนการพิจารณาจิต ทำให้เข้าใจถึงการเข้าใจธรรมะในมุมมองที่ลึกซึ้งมากขึ้น โดยเฉพาะการเข้าใจในเรื่องของปฏิสัมภิทาและญาณต่างๆ ที่มีบทบาทสำคัญในพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของปัญญา
-การบรรลุญาณ
-ความสำคัญของสติในการพิจารณาจิต
-ปฏิสัมภิทาในพระพุทธศาสนา
-การเข้าใจธรรมะในชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปัญญามีตนปลาทากา อรรถถคพระวันนิ ปวีร วัดนา - หน้าที่ 911 ถามว่า "ภูกุผสมพึ่งทำกรรมแก่กุษณีผู้ประกอบด้วยองค์เท่าไร พระเจ้าขา?" บทว่า น สกุณฑูปโพ มีความว่า ไม่ควรถ่ามเรื่องราวต่างโดยเรื่องควร กำหนดนาม รูป สมณะ และวิบาสเป็นอาทิ ก็เพราะเหตุที่ภูกุผสมพากล่าวว่ากล่าวให้ลดไม่ ๕๕๙ ท่านเป็นเจ้าของเรื่องราวเห็นปานนั้นกล่าวว่า ภูกุนนั้นได้เป็นเจ้าของไม่ นั่น พระผู้มพระกาจจิงทรงห้ามในปัญจะถูกว่า นาสกุณฒน แล้วตรัสในปัญจะที่ ๒ ว่า "อาสกุณฒน" เป็นอาทิ บทว่า น อตุภูมิตภูมิภาคปภูโต มีความว่า เป็นผู้บรรลุปฏิสัมภิทา คือเป็นผู้บรรลุญาณอันถึงความแตกฉาน ในอรธ กถา หมาได้ บทว่า น ธมมปฏิภาณภูมิภาคปภูโต มีความว่า เป็นผู้บรรลุญาณอันแตกฉาน ในภาษาคือโอหราที่จะพึงกล่าวา หมายได้ บทว่า น นิฐุติปฏิภาณภูมิภูโต มีความว่า เป็นผู้บรรลุญาณอันแตกฉาน ในภาษาคือโอหราที่จะพึงกล่าวา หมายได้ บทว่า น ปฏิภูมิปฏิภูมิภภภูโต มีความว่า มีได้เป็นผู้บรรลุความแตกฉาน ในญาณทั้งหลาย มือดำปฏิสัมภิทาญเป็นต้น ที่นับว่าปฏิภูนา (คือไหวพริบ). สองบทว่า ยามวิกรมุต น ปญาณกุฏิ มีความว่า เป็นผู้มิได้ใช้สติเครื่องพิจารณา ๙ ประเภท พิจารณาจิตตามที่พิพากษา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More