ปัญฌามัสมันตปลาทากา อรรถกถาพระวินัย ปริวรร ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา หน้า 72
หน้าที่ 72 / 288

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงความสำคัญของวาจาและการปฏิบัติตนของภิกษุ ไม่ควรทำให้เกิดความบาดหมางและวิวาท การเชื่อถือคำพูดของผู้อื่นให้ระมัดระวัง และความสำคัญของการจัดการความขัดแย้งในกลุ่มคนสำคัญต่อพระวินัยโดยรวม.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของวาจา
-การไม่ทำให้เกิดความบาดหมาง
-การควบคุมการทะเลาะวิวาท
-การรับคำพูดของผู้อื่น
-การขอโอกาสในการพูด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปัญฌามัสมันตปลาทากา อรรถกถาพระวินัย ปริวรร วัดนนา - หน้าที่ 786 คฤหัส มืดเดินส่งข่าวเป็นต้นก็ดี ด้วยเวชกรรมที่มีเป็นต้นก็ดี บทว่า วาจิสิก ฯ ได้แก่ ด้วยรับหรือบอกข่าว (ของคฤหัส) เป็นต้น. บทที่ ๓ ท่านกล่าวว่าอนาจจะประกอบบททั้ง ๒ เข้าด้วยกัน หลายบัว อัล ภิกฺขุ มา ภวนฺมฺ มีความว่า "อย่าเลย ภิกษุ เธออย่าทำความบาดหมาง อย่าทำความทะเลาะ อย่าทำ ความเก่งแกล้ว อย่าก่อวิวาท."" บทว่า น โภรหิตฺโภ ได้แก่ ไม่มีพิภาษว่ามอะไรเลย จริงอยู่ ภิกษุทั้งหลาย ย่อมไม่สำคัญที่จะพิภัทถ์คำของ ภิกษุเช่นนั้น แม้ว่ากล่าวว่าอยู่ ข้อความ น กสิญฺจิ ปจเจกฺกุจฺฉน มีความว่า (ภิกษุผู้ ประกอบด้วยองค์ ๓ คือเป็นอัสสชีนั่นเอง องสมไม่พึ่งตั้งไว้ใน ตำแหน่งหัวหน้าไร ๆ คือเต็มตำแหน่งเดียว มีอัตถ (อนุโมทนา) เป็นต้น. สองบ่าวว่า โอกาส การเปนตุสฺส มีความว่า (ภิกษุผู้ ประกอบด้วยองค์ ๓ คือเป็นอัสสชี เป็นต้น) ซึ่งขอโอกาสอยู่อย่างนี้ ว่า "ขอท่านจงให้โอกาส ข้าพเจ้าอยากพูดคะท่าน." ข้อความ นา โอกาสมุมฺ กตฺโถ มีความว่า โอกาสอันภิกษุ ไม่พึงทำว่า "ท่านจักทำอะไร ?" ดังนี้. ข้อความ สวณีย นาททุปฺฟู มีความว่า คำให้การ ไม่ควร เชื่อถือ คือแม้คำ ก็ไม่ควรฟัง ไม่ควรไปในที่ซึ่งเธอประสงค์
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More