ปฏิบัติมนต์ปลาทากา ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา หน้า 247
หน้าที่ 247 / 288

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้สำรวจถึงความหมายของกรรมที่ควรทำและกรรมที่ไม่ควรทำตามหลักในพระพุทธศาสนา โดยการสอบถามและการกระทำที่เหมาะสม พร้อมการอภิปรายในเรื่องวัตถุที่เกี่ยวข้องกับกรรม. นอกจากนี้ยังมีการเปรียบเทียบความหมายของภิกษุและพระในบริบทของกรรมในหลายบทเรียน.

หัวข้อประเด็น

-กรรมตามหลักพระพุทธศาสนา
-การกระทำที่ควรทำ
-บทบาทของภิกษุ
-วัตถุที่เกี่ยวข้องกับกรรม
-หลักการปฏิญาณในกรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฏิบัติมนต์ปลาทากา อธิฏฐานะพระวัตถี ปริวาร วันนา - หน้าที่ 960 ท่านจึงกล่าวว่า "กรรมที่ควรทำพร้อมหน้า สูงงทำไม่พร้อมหน้า กรรมไม่เป็นธรรม วิบัติโดยวัตถุ." แม้ในกรรมทั้งปลาย มีกรรมที่ควรทำด้วยสอบถามเป็นต้น การทำก็มีสอบถามเป็นต้นนั้นและ จัดเป็นวัตถุ. พึงทราบความที่ กรรมแม่เหล่านั้นเป็นวัตถุ โดยถวายวัตถุ เพราะพระทำวัตถุนี้เสียดาย. แต่ ข้อนี้ เป็นเพียงเนื้อความเฉพาะคำ ในคำว่า ปฏิฏฐฉฉกรรณีย์ เป็นต้นนี้. หลายบทว่า ปฏิฏฐฉกรรณีย์ อบาปฏิฏฐฉกรรณี มีความ ว่ากรรมที่ควรถามแล้วจิตจึงโจษ แล้วให้เจาะให้การกระทำ สูงง กระทำไม่ถามไม่โจษ ไม่ให้จ้องเลยในการเสียเลย. หลายบทว่า ปฏิญาณยกรรมฉฉ ฎินอา. ศิพฏิฎฐ มีความ ว่า กรรมที่ควรยกปฎิญญาเป็นหลัก ทำตามปฏิญญาชึ่งจอให้ อย่างไร, สงค์กร้ากำโดยหักไหม แก่ภิกษุผู้คราวณเพื่ออยู่ด้วย ไม่ยอมปฏิญญา. บทว่า สตฏินาราศรสุด ได้แก่ พระจีณาสพ เช่นพระทัพพ- มัลกุณตเถร. บทว่า อุคภูวินาราษรสุด ได้แก่ ภิกษุบา เช่นคัคภิกษุ. บทว่า สุตสปปยลิกากมาราษรสุด ได้แก่ ภิกษุมีบาป หน้าแน่น เช่นอุปาทักิณุ. นัยในบททั้งปวง ก็เช่นนี้แล.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More