ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ปัญญามนต์ปลามกัด อรรถถภพระวัน ปริวาร วันฉนา - หน้าที่ 811
สูตรเท่านี้ ได้วิฉัณเช่นนี้ เราจักกล่าวสูตรและวิฉัณเช่นนี้
แต่เมื่อไม่กำหนดเองว่า "นี้เป็นคำต้น นี่เป็นคำหลังของโจทย์" นี้เป็นคำหลังของจิ่ง, ในนั้นโจทย์และจำเลย คำที่ควรเชื่อถือเท่านั้น คำที่ไม่ควรเชื่อถือเท่านั้น" ชื่อว่า
ไม่กำหนดที่สุดแห่งคำของผู้อื่น.
สองบทว่า อาปุตติ น ขนาติ ได้แก่ "ไม่รู้จักความต่างกันแห่งอาณัติ ๑ กองว่า "ปราชิตหรือสังฆามิสส" เป็นต้น
บทว่า มูลิ มีความว่า มูลของอาบัติมี ๒ คือ กายและวาจา, ไม่รู้มูล ๒ นั้น.
บทว่า สุมหยี มีความว่า สมฤฐานแห่งอาบัติ ๖ ชื่อเหตุ เกิดของอาบัติ, ไม่รู้จักเหตุเกิดของอาบัติ ๖ นั้น. คำอธิบายว่า
"ไม่รู้ถ้าวัตถุ ของอาบัติมีปรากฏเป็นต้น" บ้าง.
บทว่า นิรธี มีความว่า ไม่รู้จักเหตุดับของอาบัติอย่างนี้ว่า "อาบัติย่อมดับ คือ ย่อมระงับด้วยการแสดง, อาบัติสิ้น ด้วยการ อยู่กรรม."
อันนี้ เมื่อไม่รู้จักสมณะ ๓ ชื่อว่าไม่รู้จักข้อปฏิบัติเป็นทางให้ ถึงความดับแห่งอาบัติ.
วิฉัณในหมวด ๕ แห่งอิทธิฤทธิ์ พิจารณาดังนี้ :-
ความว่า "ไม่รู้จักนี้ คือ อิทธิฤทธิ์ ๖ ชื่อว่าอิทธิฤทธิ์ มูล ๑๓
ชื่อว่ามูลแห่งอิทธิฤทธิ์ วิวาทิฤทธิ์ มีมูล ๑๒ อนเวทิฤทธิ์ มี