การประชุมสงฆ์และอธิษฐานในพระวินัย ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา หน้า 142
หน้าที่ 142 / 288

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงการอธิษฐานและการประชุมสงฆ์ในพระวินัย การระงับอธิษฐานมีความสำคัญเพื่อให้ภิกษูสามารถเข้าถึงการตัดสินอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการยืนยันความมีระเบียบในสังคมสงฆ์ โดยเฉพาะเมื่อมีการประชุมที่สำคัญ ในการตัดสินใจให้ระงับเพื่อสงบเรียบร้อย และมีการชี้แจงข้อปฏิบัติต่างๆ ให้เข้าใจตรงกันในกลุ่มภิกษู.

หัวข้อประเด็น

-การประชุมสงฆ์
-อธิษฐาน
-พระวินัย
-ภิกษู
-สติวิริยะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปัญญสมันฺติปลากา อรรถกถพระวินาย ปริวาร วันนา - หน้าที่ 856 ผู้มีอายุ จะมีประโยชน์อะไร ด้วยไปนั้น " แล้วอธิษฐานนั้นให้ระงับ โดยธรรม โดยวิญญ์ ในฺทนั้นเอง นี้อธิษฐานระงับใน ระหว่างทาง. คงเป็นปฏิจจัย แม้ก็เกิดญูรู้อธิษฐานนั้น. สองง ว่า ตตต คต คำ ว่า ก็ตว่า ภิกษเหล่านั้น แม้ อินพระวินัยธรกล่าวว่า "อย่าเลย ผู้มีอายุ จะมีประโยชน์อะไร ด้วยไปนั้น " ตอบว่า "เราจากไปให้ถึงการตัดสินในนั้นเอง" ไม่ เอือพออ้อยคำของพระวินัยธร คงไปจนได้, คงไปแล้ว บอกเนื้อ ความนั่น แก่พวกภิกษูในผู้สนภาคกัน. สภาวิกิทังหลายห้ามปราม ว่า "อย่าเลย ผู้มีอายุ วันนี้อาวา การประชุมสงฆ์เป็นการหนัก" แล้ว ให้พากันนั้นวิจฉัยให้ตกลงในที่นี้เอง, อธิษฐานมั่น ย่อม เป็นอันระงับแก่ ภิกษูอธิษฐานไปในนั้น ซึ่งระงับแล้วอย่างนี้, คงเป็นปฏิจจัยแม้ก็ภิกษูนั้น. หลายง ว่า ตตต คต คูปสุต มีความว่า อย่าง อธิษฐาน นั่นเป็นอันระงับ ด้วยวิธีที่จะให้ตกลงกันของภาคิษยุทั้งหมด. ก็หานับได้เลย. ก็แม้ว่า พระวินัยธรทั้งหลาย ให้ระงับอธิษฐานนั้นซิงให้ประชุม สงฆ์ บอกในท่ามกลางสงฆ์. นี้ชื่อว่าอธิษฐานไปในนั้นจะระงับแล้ว. คงเป็นปฏิจจัย แม้ก็ภิกษูรู้อธิษฐานนั้น. บทว่า สติวิริยะ มีความว่า เป็นปฏิจจัย แก่ภิกษูผู้สติวิยะ อันสงฆ์ให้แล้วแก่พระอิสิขาพ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More