ปัญหามนตปลากากในพระพุทธศาสนา ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา หน้า 63
หน้าที่ 63 / 288

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายเรื่องการอาบัติในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะเมื่อพระผู้มีพระภาคทรงอยู่ และหลังจากการปรินิพพาน อธิบายถึงวาจาที่ภิกขุใช้เรียกกันและกันในลักษณะต่างๆ รวมถึงความสำคัญของการเรียกชื่อที่ถูกต้อง และสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจส่งผลต่อการอาบัติของภิกขุในเวลาและสถานที่ต่างๆ.

หัวข้อประเด็น

-อาบัติในพระพุทธศาสนา
-การเรียกกันของภิกขุ
-ผลกระทบหลังการปรินิพพาน
-ความหมายและความสำคัญของอาบัติ
-บทบาทของพระสงฆ์ในศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปัญหามนตปลากาก อรรถกระพระวันนิ ปรีวาร วัลนา - หน้าที่ 777 [พรรณนามวด ๑] วงฉันฉัยในมวด ๓ พึงทราบดังนี้:- หลายท่าว่า อทาปฏติ คีตอญฺญาติว อานาปุชฺชิโ มี ความว่า เมือพระผู้มีพระภาคยังทรงอยู่ ภิกขูจึงต้องอาบัติ อาบัติ นี้มีอยู่ มันย่อมกันทุกบท. บรรดาอภิทาเหล่านี้ เมือพระผู้มีพระภาคเจ้าตั้งอยู่ ภิกขูจึง ต้องอาบัติ เพราะโลหิตุเปน. เมือพระผูมพระภาคปรินิพพานแล้ว ภิกขูจึงต้อง ยันทรงอยู่ไม่ต้องอาบัติ เพราะร้องเรียกพระเณรด้วย ว่าจะ อาวุโส เป็นปัจจัย เพราะก่าวว่า "อานนท์ ก็วันนี้ และ ภิกษุทั้งหลาย ย่อมร้องเรียกกันและกัน ด้วยอาวุโส โดยเวลาที่ร่างไปเสีย ท่านทั้งหลายไม่พึงร้องเรียกกันและกัน อย่างนั้น อานนท์ ก็แพงอันภิกษุใหม่ พึงร้องเรียกด้วยวาทีว่า ว่า "ภาณุเด" หรือว่า "อายมุมา" ดังนี้. เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงอยู่ตาม ปรินิพพานแล้วก็าดว้า วันอาบัติ ๒ เหล่านี้ ย่อมต้องอาบัติที่เหลือ. เมื่อห้ามเสียแล้ว ฉันของเด็จของฉันก็ไม่เป็นเดน ชื่อว่าต้อง อาบัติในกาล หาดในวิกาไม่. แต่ย่อมต้องอาบัติเพราะวิโกะ- โทษในวิกา หาดในวากาไม่. ย่อมต้องอาบัติที่เหลือ ทั้งในกาล และวิกา. ในเวลากลางคือ ย่อมต้องอาบัติเพราะนอนในเรือนร่วมกัน,
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More