การวินิจฉัยธรรมในกุลินทวณฺณนา ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา หน้า 179
หน้าที่ 179 / 288

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาของบทนี้เกี่ยวข้องกับการวินิจฉัยธรรมที่เกิดพร้อมกับกุลินทวณฺณนา ซึ่งอธิบายลักษณะและประโยชน์ของธรรมที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งการเชื่อมโยงกับปัจจัยต่าง ๆ ที่สืบทอดกันไป นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงความสัมพันธ์ระหว่างธรรมที่เกิดขึ้นซึ่งเป็นที่รองรับและเป็นปัจจัยในการดำรงอยู่ของธรรมอื่น ๆ ที่มีความสำคัญในแง่ของการศึกษาและการปฏิบัติ

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์ธรรม
-ธรรมที่เกิดขึ้นพร้อมกัน
-การเชื่อมโยงของธรรม
-พระวินัย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปัญจสมันตปลากาก อรรถถกพระวินัย ปริวาร วันนา- หน้าที่ 892 [๒๙๖๖] [ฐ์ฐฐ] กุลินทวณฺณนา [ธรรมที่เกิดพร้อมกับกุลินทวณฺณนา] วินิจฉัยในกุลิน วิทยารับดังนี้ :- สองบทว่า อุณฺโม มฤคา ได้แก่ มฤคา ส เป็นปกมิมันติคา (กำหนดด้วยการหลั่งไปรับเป็นที่สุด) เป็นต้น ที่คราสไู่ในขันธะ. แม ปลีโพธิ และอนิสงส์ก็ได้คราสไว้ในหนหลังแล้วแลง. [ว่าด้วยอนันตรปัญจะอาทิก] บทว่า ปโยคสูติ ได้แก่ ประโยคมีการหนำมันเป็นต้น ที่ ภิญญูระทำเพื่อประโยชน์แก่พวกพรรณ ๓ อย่าง มติธิวิวเป็นต้น. หลายบทว่า กตม มฤคา อนุตตรปจฺจยเนน ปัจจโย มีความ ว่า ธรรมเหล่าไหนเป็นธรรมสืบลำดับ โดยเนื่องด้วยประโยคที่ยัง ไม่มา ย่อมเป็นปัจจัย. บทว่า สมณุตตรปจฺจยเนน มีความว่า พระผู้พระภาคตรัส ถามถึงธรรมที่สืบลำดับกันเป็นปัจจัย ด้วยธรรมที่สืบลำดับกันเป็นปัจจัย โดยตรงนั้นเอง แต่ทำให้ใกล้คิดกว่า. บทว่า นิสสยุตตรปจฺจยเนน มีความว่า ธรรมเหล่าไหนเป็นเหมือน เข้าใกลวามเป็นธรรมเป็นที่อาศัย คือความเป็นธรรมเป็นที่รองรับ แห่งประโยคที่เกิดขึ้น ย่อมเป็นปัจจัย. บทว่า อุปนิสสยุตตรปจฺจยเนน มีความว่า ตรัสสนถึงธรรม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More