การแสดงอาบัติในพระพุทธศาสนา ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา หน้า 221
หน้าที่ 221 / 288

สรุปเนื้อหา

ในพระพุทธศาสนา การแสดงอาบัติเป็นขั้นตอนที่สำคัญที่ภิกษุจะต้องปฏิบัติตามข้อบังคับอย่างเคร่งครัด โดยระบุจำนวนและประเภทของอาบัติเสมอ ทั้งนี้เพื่อให้การดำเนินการต่างๆ เป็นไปตามหลักที่วางไว้และไม่เกิดความสับสนในหมู่สงฆ์ การแสดงอาบัติจะต้องทำโดยใช้คำพูดที่ชัดเจน และไม่ควรให้ความสำคัญกับลำดับการแสดงมากเกินไป เนื้อหาดังกล่าวมีความสำคัญต่อการรักษาศีลและวินัยของภิกษุ

หัวข้อประเด็น

-การแสดงอาบัติ
-ข้อบังคับในพระพุทธศาสนา
-ปาจิตติย
-ความสำคัญของอาบัติ
-การสื่อสารภายในสงฆ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๚๙๔๔ ภิกษุนี้ ย่อมต้องปาจิตติย๚ หมดทั้ง ๕ ตัว ต่างวัดกัณฑ์ ในขณะเดียวกัน ไม่พึงกล่าวว่า "ต้องอาบนี้ก่อน อาบนี้ภายหลัง" [วิธีแสดงอาบัติ] ลองว่ากา เอกวาจา เทเสียง มีความว่า ภิกขุพึงแสดง ด้วยอาวุโสเดียว อย่างนี้ว่า "ท่านผู้อธิษฐาน ข้าพเจ้ารับประเคน เกษะ ๕ ให้ลา่ง ๓ วันไป ต้องอาบต ๕ จึงแสดงคืนอาบัติเหล่านั้น ในสำนักท่าน" อาบัติเหล่านั้น เป็นอันผู้อื่นแสดงแล้วแท้ ไม่มีวิถี ที่จะต้องทำด้วยอาวุ ๒-๓ ครั้ง แต่ในวิสาขนที่ ๒ ก็พึงกล่าวว่า "ท่านเจริญ ข้าพเจ้าออกปากขอโทษนะประณีต ๕ อย่างฉันแล้ว ต้องอาบต ๕ จึงแสดงคืนอาบัติเหล่านั้น ในสำนักท่าน". หลายบทว่า ดูดุ กุฏุตฺตวา เทเสยฺญ มีความว่า พึงแสดงระบุตอนว่า "ท่านผู้อธิษฐาน ข้าพเจ้ารับประเคนเกษะ ๕ ให้ลา่ง ๓ วันไป ข้าพเจ้าแสดงอาบัติเหล่านั้นตามวัตร ในสำนักท่าน" อาบัติทั้งหลาย เป็นอั้งภิญทุนนแสดงแล้วแท้ ไม่มีวิถีที่จะต้องระบุชื่ออาบัติ แม้ในวิสาขนาที่ ๒ ก็พึงกล่าวว่า "ท่านผู้อธิษฐาน ข้าพเจ้าออกปากขอโทษนะประณีต ๕ อย่าง ฉันแล้ว ข้าพเจ้าแสดงคืนอาบัติเหล่านั้น ตามวัตร ในสำนักท่าน" [ยาวติยกบปิเป็นต้น] ลองว่ากว่า ยาตดติยก ติสโล มีความว่า อาบัติ ๓ กองในยวดติยกเหล่านี้ คือ เป็นปราชญ์แก่กิญญูผู้ประพฤติตามกิญญูผู้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More