ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - จุดคลอสนต์ปะกาศากา อรรถกถาพระวันอ อุตรรวา วรรณะ - หน้าที่ 411
บทว่า น โอกาส มีความว่า ไม่พิ้งให้กิจกูอื่นทำโอกาสอย่างนี้
ว่า "ท่านจงทำโอกาสแค่ข้ามเจ้า ข้าพเจ้าเป็นผู้ใดจะพูดคะท่าน."
ข้อว่า น โอเทพฑูฌ โมีความว่า ไม่พิ้งโทษผิดอันด้วยวัตถุ
หรืออาบัติ, คือไม่พิ้งให้กูอื่นให้การด้วยคำว่า "นี้เป็นโทษของ
ท่านหรือ ?"
ข้อว่า น สมุโภยนต์พุผ มีความว่า ไม่พิ้งช่วยกันและกัน
ให้ทำความทะเลาะ.
คำว่า คีตณี ภูฏบา ภูฏบู เป็นติณ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้
เพื่อแสดงว่า "สงฆสมควรงดตั้งอรรถธรรม ด้วยองค์แม้อันหนึ่ง ๆ."
จริงอยู่ ความเป็นผู้ทำความบาปหามา พระผู้พระภาคตรัส
ไว้เป็นองค์ผิดเฉพาะ สำหรับภิกษุสาวก. ความเป็นผู้มีอัตตีน้อง ๆ
ศรัสไว้เป็นองค์ผิดเฉพาะ สำหรับภิกษุวรุ๋. ความเป็นผู้มีอุปนิสัยน้อง ๆ
ศรัสไว้เป็นองค์ผิดเฉพาะ สำหรับภิกษุอายุควรไศย, ความเป็นผู้ประทุษร้าย
สกุล ศรัสไว้เป็นองค์ผิดเฉพาะ สำหรับภิกษุขบัติไกล. แต่สงฆสมควร
จะทำกรรมแม้ทั้งหมด ด้วยองค์อันใดองค์หนึ่งใน 3 องค์นี้.
หากจะมีก็ถานว่า "ถ้าเป็นฉะนั้น, คำที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้
ในบรรยาปยักษกะว่า "สงม่นินอธรรมุตรเด็กภิกษุวรฺุจะลงตั้งอธิษฐาน-
กรรม ฯ ลฯ อันภาพภิกษุอุปสมบท, อุบาสิ กรรมไม่เป็นธรรม
และกรรมไม่เป็นวิริยะ ย่อมมืออย่างนี้ แล้ว เมื่อเป็นอย่างนั้น สงม์
ย่อมเป็นผู้มีโทษ" ดังนี้ ย่อมแง่มว่า คีตณี ภูฏบา ภูฏบู, กิณา
เป็นฉันนี้.
เฉลยว่า อนาคนั้นจะบังกันหวามได้.