จุดดุลสมดุลปาฏิหาริย์พระวินัย จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 147
หน้าที่ 147 / 270

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงการปฏิบัติและข้อกำหนดทางศาสนาสำหรับภิกษุเมื่อเข้าสู่การจำพรรษาและการแยกส่วนผ้าจำพรรษาของภิกษุที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะในเรื่องของการให้และรับผ้าจำพรรษาระหว่างภิกษุภายในสงฆ์ ซึ่งมีขึ้นภายใต้ข้อกำหนดและธรรมเนียมที่เหมาะสม นอกจากนี้ยังเน้นถึงบทบาทและการปฏิบัติของภิกษุที่มีอายุเกี่ยวกับการใช้ผ้าจำพรรษาในการทำให้แก่สังคมและการรักษาศีลในระหว่างที่จำพรรษา.

หัวข้อประเด็น

-สงฆ์และผ้าจำพรรษา
-ข้อกำหนดพระวินัย
-การปฏิบัติของภิกษุในช่วงจำพรรษา
-การรักษาศีลในพระพุทธศาสนา
-บทบาทของภิกษุต่อสังคม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดดุลสมดุลปาฏิหาริย์ พระวินัย อุตตรวรรณ วรรณา - หน้า 555 ให้แก่ภิกษาหล่านนั้น ผู้เฒูในที่แห่งญาติและคนปวรรณแล้วมาแล้ว, ใน เวลาอโลกไม่ยอมให้ค้างน." ท่านกล่าวว่า "ถ้่าว่า เมื่อคร้ำจำพรรษาไม่ถึงแก่กิณฑ บางวก ในบรรดาภิกษุผู้จำพรรษา, ภิกษุทั้งหลายพึงกิดต่อกิณฑ 'สงฆ์มิจะดีให้ผ้าจำพรรษาของภิกษุผูจจำพรรษา และผ้าจำพรรษา ซึ่งเกิดขึ้นในบัดนี้ แก่ภิกษุหล่าน.'" เมื่อได้ตั้งติกาไว้เองแล้ว ผ้ จำพรรษายอมเป็นเหมือนให้พวกเธอถืออาแล้วเหล่านั้น: ทั้งต้อง ให้ผ้าที่เกิดขึ้นแล้ว ๆ แก่พวกเธอด้วย." ภิกษุผู้ตั้งน้ำฉัน ปิดภาวทางไปบริหาร ลานเจดีย์ และลานโพธิ เป็นต้น รวดน้ำที่ตนโพธิตลอดใรมาสแล้วก็บไปเสียดี สลิกามาเสียดี คงได้ผ้าจำพรรษาเหมือนกัน เพราะผ้าจำพรรษานั้น อันภิกษุนัน ได้แล้วดุจนำให้เป็นกำลัง. อาจารย์บอกพวกกล่าวว่า "ส่วนผ้าจำพรรษาที่เป็นของสงฆ์ซึ่ง ทำปโลกนกกรรมแล้วแจกกัน แม็กกุลา สิกขาขาในพรรษา ย่อมได้ เหมือนกัน, แต่ไม่ยอมให้ถือเอาด้วยอำนาจปัจจัย. หากว่า ภิกษุจำพรรษาเสร็จแล้วเตรียมจะไปจิต ได้ือเอา กับปิยวัตถ์ แต่บางสิ่งจากมือของภิกษุผู้อยู่ในอวาสแล้วสั่งว่า "ผ้าจำ พรรษาของเรา มีในลูกโน้น, ท่านจงถือเอาผ้าจำพรรษานั้นก็ถึง "แล้ว" ดังนี้แล้ว ลาสิกขาบาปเสียในที่ซึ่งตนไปแล้ว, ผ้าจำพรรษา ย่อมเป็นของสงฆ์ แต่ภิกษุผู้นั้น ให้พาพาชาวบ้านรับรองต่อหน้า แล้วจงไป, ภิกษุอาวาสอายุ๋ได้.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More