การแต่งตัวตามพระวินัย จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 255
หน้าที่ 255 / 270

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการแต่งตัวของภิกษุณีตามหลักพระวินัย โดยมีการกล่าวถึงการใช้ผ้าคาดที่มีความหมายและความสำคัญแตกต่างกัน อธิบายถึงรายละเอียดของเครื่องแต่งกายที่ถูกต้อง อาทิเช่น ผ้าคาดสีขาวและผ้ากาสาวะ รวมทั้งคำอธิบายเกี่ยวกับการแต่งกายเพื่อความสวยงามในกรณีต่างๆ สรุปแล้วเนื้อหานี้สะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของการแต่งตัวในบริบททางศาสนาและวัฒนธรรม และข้อกำหนดทางพระวินัยที่ควรศึกษาและปฏิบัติตามเพื่อการประพฤติที่เหมาะสมในชีวิตประจำวัน

หัวข้อประเด็น

-การแต่งตัวของภิกษุณี
-หลักพระวินัย
-ความสำคัญของเครื่องแต่งกาย
-ประเภทของผ้าคาด
-การประพฤติในศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดคตัสดมดดนดคา อรรถคตพระวินัย อุตวจรรา วรรณา - หน้าที่ 663 ขำเข้าได้กล่าวเสร็จแล้วในวรธนาแห่งกฐินวิลังก์ [ว่าด้วยการแต่งตัวเป็นต้น] ขอว่า ผ้าสุก นมูณดี มีความว่า ภิกษุณีทั้งหมดหลาย ใช้ประคดคอ คาดช่อโครง เพื่อประโยชน์ที่ดี อย่างหญิงคฤหัสถ์หญิงสาว คาดด้วยผ้าคาดมนะนั้น 【๔๕๕๕】บทว่า เอกปุริเยก ได้แก่ ประคดคอคาดได้รับเดียว สองบทว่า วิลิน ปุญฺญา ได้แก่ ผ้าคาดที่ทอดด้วยดอกไม้ใผ่ อย่างละเอียด บทว่า ทูลสุดปฏิญญา ได้แก่ ผ้าคาดขาว บทว่า ทูลสุดอัญญา ได้แก่ ช่องที่ทำด้วยผ้า บทว่า ทูลสุดจุฬา ได้แก่ เกลียวที่ทำด้วยผ้า ในผ้าคาดเล็กเป็นต้น ผ้ากาสาวะผืนเล็ก พึงทราบว่า "ชื่อว่า ผ้าคาดเล็ก." บทว่า อติฐิลนฺ ได้แก่ กระดูกแข็งแห่งโค. บันสะเอริกะ ตะโภค สองบทว่า หตุ โภคจัญ ได้แก่ ให้นุบปลายแขนแต่ง ให้งามด้วยขนบนุกงูเป็นต้น. บทว่า หตุโกจิ ได้แก่ หลังมือ บทว่า ปทฺท ได้แก่ แข็ง บทว่า ปทฺทโกจิ ได้แก่ หลังเท้า การไล่หน้าเป็นต้น มี
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More