การฉันและเครื่องรองภิกษุในพระพุทธศาสนา จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 100
หน้าที่ 100 / 270

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับอุปกรณ์การฉันของภิกษุในพระพุทธศาสนา โดยกล่าวถึงเครื่องรองที่ทำด้วยวัตถุต่างๆ เช่น ทองแดงและเงิน รวมถึงวินิจฉัยเกี่ยวกับการใช้ไม้ในงานต่างๆ เพื่อให้เห็นถึงความเหมาะสมและธรรมเนียมในพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังมีข้อแนะนำในกรณีที่ภิกษุถือผักหรือผลไม้ที่หลงเหลือ รวมถึงการประเมินเรื่องการใช้วัตถุในทางปฏิบัติ พระไตรปิฎกและคำสอนควรถูกนำไปใช้ในการพัฒนาทางจิตวิญญาณอย่างมีสติ.

หัวข้อประเด็น

- การฉันของภิกษุ
- เครื่องรองฉัน
- วินิจฉัยในพระพุทธศาสนา
- วัตถุที่ใช้ทำเครื่องรอง
- ประกอบการทำอาหารในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดดลสมันดาปลาทำ อรรถถกพระวันวิ องวรร วรรนา - หน้าที่ 508 บทว่า ปุผากภิญญาสุ มีความว่า ภิกษุบิ้นนอนบนที่นอนที่เขาประดับด้วยดอกไม้. บทว่า นมตุ มีความว่า เครื่องปูงล้างลานตที่ทำ คือ ทอด้วยขนแขม พึ่งใช้สอย โดยบริหารไว้ก่อนนึ่ง. [ว่าด้วยการฉัน] ชื่อว่า อาลัยติญูปูชน นั้น เป็นคำเรียกลุ่ง ที่ทำด้วยทองแดง หรือด้วยเงิน. อันยี่ ลุ่งนั้น แห่งด้วยไม้ ก็ไม่ควร เพราะเป็นของที่ทรงห้ามแล้ว. เครื่องรองทำด้วยไม้ทั้งท่อน เรียกว่า โตก. แม้เครื่องรองที่ทำด้วยในกระแสและคะรัง ก็รับเข้าในโตกนี้เหมือนกัน. [๒๔๕๕] จริงอยู่ วัดภูมิไม้ลำต้นนั้น จำเดิมแต่ท้องความรวมเพราะเป็นเครื่องรอง มีช่องเจาะไว้บนในก็ตาม เจาะไว้โดยรอบ ก็คิดควร ควรเหมือนกัน. วินิจฉัยในคำว่า เอกกษะน นี้ พึงทราบดังนี้:- หากว่า ภิกษุรูปหนึ่งถืออฝไม้ หรือบนบากบาขนะไป, ครั้นเมื่อภิกษุนั้นไปแล้ว การที่กุองนั้นจะฉันผลไม้หรือขนมที่ยังเหลือ ย่อมควร. แม้ภิกษุออกนจากนี้ จะถือเออกในขณะนั่น ก็ควร. [ว่าด้วยการคำบรร] วินิจฉัยในคำว่า องกุงงเคน นี้ พึงทราบดังนี้:-
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More