จุดดุลสมดุลปาฏิหาริย์ถวายพระวินัย จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 25
หน้าที่ 25 / 270

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายเกี่ยวกับการนั่งของภิกษุภายในพระวินัย โดยระบุถึงข้อกำหนดและความเหมาะสมในการนั่งบนแผ่นดิน รวมถึงการจำกัดที่นั่งสำหรับภิกษุและเงื่อนไขต่าง ๆ ว่าด้วยผังและสิ่งอำนวยความสะดวกที่เกี่ยวข้อง ซึ่งทั้งหมดนี้มีความสำคัญในการรักษาดุลยภาพและความสงบของภิกษุ ทั้งนี้ยังพูดถึงการพิจารณาและการปฏิบัติตามที่ข้อวินัยกำหนดไว้สำหรับชีวิตประจำวันของภิกษุ

หัวข้อประเด็น

-การนั่งของภิกษุ
-พระวินัย
-ดุลยภาพในพระพุทธศาสนา
-เงื่อนไขการนั่ง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - จุดดุลสมดุลปาฏิหาริย์ถวายพระวินัย อุตตรวรรณ วรรณา - หน้า 433 บทว่า เอกาสน มีความว่า บนเตียงหรือั้ง ซึ่งเป็นที่นั่งแห่งภิกษุผู้มีธรรมเท่านั้น บทว่า ณ ฉฬิมน มีความว่า เมื่อภิกษุปฏิตตัณต์ นั่งบนแผ่นดิน ฝ่ายปราวสิกกุฎิไม่มีนั่งนั่นบนอาสนะ โดยที่สุดแม้เป็นเครื่องลาดภูหรืเป็นเนินราวที่สูงกว่า แต่จะนั่งวันอุปจาร ไว้ ๒๔ คอก ควรอยู่ บทว่า น เอกองค์ฺน มีความว่า ไม่พึงงกรบในที่งกรม อันเดียวกับภิกษุปฏิตตังเพื่อนกัน. คำว่า ฉฬิมย จงฺมิต มีความว่า เมื่อภิกษุปฏิตตังงกรม อยู่นแผ่นดิน อีกอย่างหนึ่ง นี้เองเป็นบาสี. และพิพากรานี้ความในคำนี้ ดังต่อไปนี้:- เมื่อภิกษุปฏิตตังงกรมอยู่ ณ พื้นดินไม่ได้เปนแคน ไม่พิง จงฺมิม ณ ที่งกรมที่เป็นแคนเคลื่อนทราบประองค์ราวที่หนียว แม้เป็น ที่ว่า และไม่อาจเป็นต้องกล่าวอะไรในที่งกรมที่พร้อมสร้างอาคารการก่ออิฐ ทั้งแถวล้อมด้วยกำแพงแก้ว. แต่ถามที่งกรมที่ล้อมด้วยกำแพงประกอบ ด้วยชูมประตู หรือว่ามีที่งกรมที่บังกด ณ ระหว่างเขา ระหว่างป่า และระหว่างกอไม้; จะจงฺมิมในที่งกรมเช่นนั้นสมควรอยู่, จะเว้น อุปจารงกรม ณ ที่งกรมมิได้กับบัง ก็ครัว. วินิจฉัยในค่าว่า อุฑุตตรน นี้ พึงทราบดังนี้:- ในกรุงเทพว่า "ถ้ามือปริวาสิกกุฎิแก่ว่านอนก่อน ฝาย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More