วรรณนาเกี่ยวกับปัญญาสักขันธ์ ๔ จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา หน้า 263
หน้าที่ 263 / 270

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เกี่ยวข้องกับปัญญาสักขันธ์ที่ ๔ โดยท่านพระมหากัสสะปะได้ถามเกี่ยวกับนิยก ๔ และความสำคัญของสิกขาบทที่พระสมณะได้บัญญัติไว้. มีการพูดถึงความจำเป็นที่จะต้องรักษาสิกขาบททุกบทและไม่ประมาทในการปฏิบัติศาสนาของพระสงฆ์. นอกจากนี้ยังมีการอธิบายเกี่ยวกับการบวชและการปฏิบัติตามข้อกำหนดทางพระพุทธศาสนาอย่างถูกต้อง.

หัวข้อประเด็น

-พระมหากัสสะปะ
-ปัญญาสักขันธ์
-สิกขาบท
-การบวชในพระพุทธศาสนา
-การปฏิบัติธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

प्रโยค - อุดมสมบัติภาคิ ฤทธิ์ อรณกอพระวันวิ อุตรรา วรรณา - หน้าที่ 671 [๔๕๕] ปัญญาสักขันธ์ ๔ วรรณนา วิจัยในปัญญาสักขันธ์ ๔ นี้ :- สองเท่า ปญฺญ นิพาย ปูจิ มีความว่า ท่านพระมหา- กัลสสป ถามนิยก ๔ คือ ทีมินาย มัชฌิมนิยก อัตตนฺตรินิยก สังฺอุตฌฺนิกาย ฦทธนิกาย. คำอย่างนี้ว่า "เว้นปราชิก ๔ เสีย สิกขาบทที่เหลือ เป็น สิกขาบทเล็ก และเล็กน้อย" เป็นอรรถ พระสังคหกะระทั้งหลาย กล่าวแล้วโดยปริยาย เพื่อแสดงความที่สิกขาบททั้งปวง อันท่านฟัง รวมรวมเอาไว้ ไม่ละทิ้งแม้สิกขาบทเดียว. หลายเท่าว่า อิท โว สมานนี มีความว่า นี้ สควรแก่สมณะ ทั้งหลาย โฉ อธํ ใช้นิรตสังกถว่ายบถวายเต็ม. บทว่า ฏฐมกสิล มีความว่า ควรแก่การบวชเป็นภิริทพาน ของพระสมณะ ยังปรากฏอยู่เพียงใด กาลเพียงนั้น เป็นกาลแห่ง สิกขาบทที่พระสมณะทรงบัญญัติเคลื่อนแล้วกล่าวทั้งหลาย. ว่าแก่ อภิษฎ ๔ อาวุโส อนุโม ทุกข์ ฑกูญ นี้ อันทพระเถร ทั้งหลาย เพียงแต่จะวิตว่า "กรรมนี้อันทําไม่มีแต่" จึงกล่าวแล้ว, หาได้กล่าวหมายถึงอาบัติไม่. อันทพระเถรเหล่านั้น จะไม่รู้อาบัติ และมิใช่อาบัติ หามิได้. จริงอยู่ ในบัดนี้เอง ท่านพระมหากัสสะปะได้ประกาศคำว่า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More